Page 82 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 82
บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต 71
ิ
กันออกไป เช่น การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (2557) ได้ให้ความหมายของการท่องเที่ยวเชิงเกษตรไว้ว่า
หมายถึง การท่องเที่ยวที่มุ่งความสนใจไปยังกจกรรมการเกษตร หรือสภาพแวดล้อมทางการเกษตรเป็นหลัก
ิ
โดยมีความพร้อมในการด าเนินการ สามารถควบคุม และด าเนินการกับปัจจัยภายในและภายนอกของ
ึ
แหล่งท่องเที่ยว รวมทั้งมีกลไกกระจายรายได้ไปยังเกษตรกร และก่อให้เกิดความพงพอใจต่อการการได้รับ
ความรู้ เพลิดเพลิน เกิดการพักผ่อนหย่อนใจ การสร้างเสริมการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ
กรมส่งเสริมการเกษตร (2548) กล่าวว่า การท่องเที่ยวเชิงเกษตร คือ การเดินทางท่องเที่ยวไปยัง
พื้นที่ ชุมชนเกษตรกรรม สวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุนไพร ฟาร์มปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง แหล่งเพาะเลี้ยง
สัตว์น้ าต่าง ๆ สถานที่ราชการ ตลอดจนสถาบันการศึกษาที่มีงานวิจัยและพฒนาเทคโนโลยี การผลิต
ั
การเกษตรที่ทันสมัย ฯลฯ เพอชื่นชมความสวยงาม ความส าเร็จ และความเพลิดเพลินในกิจกรรม
ื่
ื้
ทางการเกษตรในลักษณะต่าง ๆ ท าให้ได้ความรู้ ได้ประสบการณ์ใหม่ ๆ บนพนฐานความรับผิดชอบ และ
มีจิตส านึกต่อการรักษาสภาพแวดล้อมของสถานที่นั้น
จากความหมายต่าง ๆ ที่ได้กล่าวมาข้างต้นสามารถสรุปได้ว่า การท่องเที่ยวเชิงเกษตร คือ กิจกรรม
ั
หรือสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกบการเกษตร ที่เกษตรกรในพื้นที่นั้น ๆ จะมอบให้แก่นักท่องเที่ยว โดยพื้นที่
ที่เปิดเป็นแหล่งท่องเที่ยวนั้นจะต้องมีความพร้อมในการบริหารจัดการกับทรัพยากรทางการเกษตรที่ตนมีให้
สอดคล้องกับการบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยว เพอให้สามารถสร้างคุณค่า และตอบสนองแก่ความ
ื่
ต้องการของนักท่องเที่ยวที่สนใจเกี่ยวกับการเกษตรได้
การท่องเที่ยวเชิงเกษตรแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
1) แบบกิจกรรมรายบุคคล ได้แก่ การน าเที่ยวชมสวนของเกษตรกรรายบุคคลที่ประสบความส าเร็จ
ในการประกอบอาชีพ เช่น สวนทุเรียน มังคุด สวนไม้ดอกไม้ประดับ หรือแม้แต่ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ทั้งนี้ผู้เยี่ยมชม
จะได้รับความรู้ด้านเทคโนโลยีการผลิต การจัดการการตลาดแล้ว ยังสามารถซื้อผลผลิตต่าง ๆ ที่ทางสวน
จัดขึ้นอีกด้วย
2) กิจกรรมการท่องเที่ยวตามฤดูกาลหรือเทศกาล เช่น การจัดงานวันทุเรียนโลก งานวันเงาะ
โรงเรียน ทุ่งทานตะวันบาน ทุ่งดอกปทุมมา ซึ่งการท่องเที่ยวแบบนี้จะมีขึ้นเฉพาะในช่วงที่มีการจัด
นิทรรศการเกี่ยวกับการเกษตรเท่านั้น
3) กิจกรรมการท่องเที่ยวตามชุมชนหรือหมู่บ้านเกษตรกร ซึ่งเกษตรกรในชุมชนร่วมกันจัดตั้ง
บริหาร และจัดการท่องเที่ยว โดยกรมส่งเสริมการเกษตรให้ความร่วมมือสนับสนุนในการจัดท าโครงสร้าง
ั
ื้
ทางกายภาพ การจัดภูมิทัศน์ การให้แนวความคิดในการพฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับพนที่และ
ความสามารถของเกษตรกรในชุมชน
การท่องเที่ยวเชิงเกษตร ถือเป็นส่วนหนึ่งของการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน เนื่องจากเป้าหมายของ
ื่
การเดินทางท่องเที่ยวส่วนใหญ่ จะมุ่งไปเพอแลกเปลี่ยนเรียนรู้แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม วิถีชีวิต
เกษตรกร และวิถีการท าเกษตร พนที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตรกรรม อาทิ สวนเกษตร วนเกษตร สวนสมุนไพร
ื้
ฟาร์มปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง นอกจากนี้ นักท่องเที่ยวยังได้ชื่นชมความสวยงาม ความส าเร็จ และได้รับความ
เพลิดเพลินในสวนเกษตร ได้ความรู้ มีประสบการณ์ใหม่บนพื้นฐานความรับผิดชอบ มีจิตส านึกต่อการรักษา
สภาพแวดล้อมของสถานที่แห่งนั้น ๆ แหล่งท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยม คือ ฟาร์มโชคชัย ที่นักท่องเที่ยว
ี
ได้สัมผัสกับฟาร์มโคนม พร้อมเสนอกิจกรรมต่าง ๆ ให้กับนักท่องเที่ยวที่มิใช่เพยงการชมสาธิตการรีดนม
ื่
ยังมีกิจกรรมอน ๆ เช่น หมู่บ้านคาวบอย กินสเต็ก ไร่องุ่น นอกจากนี้จังหวัดจันทบุรียังมีการท่องเที่ยว
เชิงเกษตรกรรม คือ เข้าสวนชมเงาะ สวนทุเรียน ให้นักท่องเที่ยวได้เที่ยวชมสวนพร้อมกับกินผลไม้ได้
ไม่จ ากัด หรือภาคเหนือของประเทศไทย เช่น ดอยแม่สลอง จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นต้น