Page 84 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 84
บทที่ 4 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรธรรมชาต 73
ิ
่
ทั้งนี้เพื่อรักษาความปลอดภัย และความประทับใจให้กับนักทองเที่ยว ดังนั้นการจัดหาบริการและสิ่งอานวย
ความสะดวก เช่น ห้องน้ าจึงเป็นสิ่งจ าเป็น
5) สภาพแวดล้อมที่ปลอดภัย และความสามารถในการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว กล่าวคือ
ผู้ประกอบการทางด้านการท่องเที่ยวเชิงเกษตรต้องค านึงถึงความปลอดภัยทางด้านทรัพย์สิน และ
ความสะดวกสบายของนักท่องเที่ยว ให้เป็นไปตามข้อก าหนดเรื่องสุขภาพของผู้บริโภค ความปลอดภัยของ
อาหารและกฎระเบียบด้านสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ยังช่วยให้ผู้ประกอบการสามารถสร้างแผนการจัดการกับ
ความเสี่ยงของตนเองได้ และควรค านึงถึงสิ่งอานวยความสะดวกที่เท่าเทียมกัน เช่น การจัดสรรสิ่งอานวย
ความสะดวกที่จ าเป็นแก่นักท่องเที่ยวที่ทุพลภาพ
ั
ื่
ั
6) ความสัมพนธ์กับชุมชน กล่าวคือ เพอสร้างความสัมพนธ์ที่ดีกับชุมชน โดยให้โอกาสส าหรับ
คนในชุมชนได้มาเรียนรู้การท าธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงเกษตร
7) การวางแผนด้านงบประมาณ กล่าวคือ ผู้ประกอบการต้องทบทวนแผนธุรกิจอยู่เสมอ เพิ่มยอด
ื่
รายได้จากการบริการ และสะสมประสบการณ์ทั้งหมดอย่างเหมาะสม เพอสร้างความยั่งยืนในระยะยาว
ให้กับธุรกิจ
บทสรุป
เนื้อหาในบทนี้เน้นการน าเสนอรูปแบบการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานทรัพยากรเชิงธรรมชาติ
ี
ซึ่งประกอบไปด้วย การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) ซึ่งมีรูปแบบหรือกิจกรรมการท่องเที่ยวย่อยอก
15 กิจกรรม การท่องเที่ยวสีเขียว (Green Tourism) และการท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agrotourism) รูปแบบ
ั
่
การท่องเที่ยวเหล่านี้ มีความสัมพนธ์โดยตรงกับทรัพยากรธรรมชาติที่มีความเปราะบาง ออนไหว
ั
ต่อกิจกรรมการท่องเที่ยว ดังนั้น การน าหลักการพฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนที่ให้ความเคารพต่อ
ทรัพยากร การมีส่วนร่วมของชุมชนเจ้าของพนถิ่น และการจัดการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จึงเป็น
ื้
สิ่งจ าเป็นในการพัฒนาการท่องเที่ยวเพื่อความยั่งยืน
ค าถามทบทวน
1) ให้นิสิตอภิปรายว่ากิจกรรมการท่องเที่ยวในแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ ควรมีข้อควรระวัง
อย่างไรบ้าง
2) กิจกรรมหรือรูปแบบการท่องเที่ยวที่ยกตัวอย่างมาในบทนี้ มีหลักการบริหารที่สอดคล้องกับ
หลักการพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนอย่างไร
3) ให้นิสิตยกตัวอย่างกิจกรรมท่องเที่ยวตามแนวคิด 7 Greens ทั้ง 7 ประการ
ิ
4) นิสิตคิดว่าการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอนทรีย์มีความเหมือนหรือแตกต่างกับการท่องเที่ยว
เชิงเกษตรอย่างไร
เอกสารอ้างอิง
กรมส่งเสริมการเกษตร. (2547). หลักการบริหารจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร. สืบค้นเมื่อ
12 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://thai.tourismthailand.org/fileadmin/upload_
img/Multimedia/Ebrochure/507/AGRO-tourism-BOOK-THAI.pdf
กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา. (2557). การท่องเที่ยวเชิงเกษตร. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
เทิดชาย ช่วยบ ารุง. (2553). การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุราษฎร์ธานี: การวิจัยฐานทรัพยากรเกษตร
สู่การท่องเที่ยวอย่างยงยืน. กรุงเทพฯ: ส านักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
ั่