Page 91 - เอกสารประกอบการสอน pdf
P. 91

บทที่ 5 การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนบนฐานมรดกวัฒนธรรม    80




                     มีหลักส าคัญอยู่ที่การค านึงถึงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม สังคม และวัฒนธรรม ก าหนดทิศทางโดยชุมชน
                     จัดการโดยชุมชน เพื่อชุมชน และชุมชนมีบทบาทเป็นเจ้าของมีสิทธิในการจัดการดูแล เพื่อให้เกิดการเรียนรู้

                                                        ั
                     แก่ผู้มาเยือน รูปแบบการท่องเที่ยวนี้ถูกพฒนาต่อยอดมาจากการท่องเที่ยวชนบท การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
                     และการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร โดยมีจุดเน้นอยู่ที่การบริหารจัดการหรือการ
                     ขับเคลื่อนกิจกรรมการท่องเที่ยวจากการมีส่วนร่วมของกลุ่มบุคคล หรือองค์กรท้องถิ่น
                             จะเห็นได้ว่า ถึงแม้ CBT เป็นแนวคิดที่ถูกพฒนามาจากการท่องเที่ยวดังกล่าวข้างต้น หากแต่ก็มี
                                                                 ั
                     ความแตกต่างระหว่างการท่องเที่ยวโดยชุมชนกับการท่องเที่ยวรูปแบบอน กล่าวคือ Ecotourism หรือ
                                                                                   ื่
                     “การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ” ในหลายชุมชนหรือหลายองค์กร เรียก “การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์” นั้น มักเน้น
                                                                           ี
                     ธรรมชาติ วัฒนธรรม หรือทรัพยากรเป็นศูนย์กลาง ชุมชนเป็นเพยงองค์ประกอบหนึ่ง หากแต่ CBT เน้นที่
                     ชุมชนเป็นศูนย์กลางในการท างาน หรือที่พกแบบ Homestay (โฮมสเตย์) ในภาคราชการไทยเรียก
                                                           ั
                          ั
                     “ที่พกสัมผัสวัฒนธรรมชนบท” มีความแตกต่างจาก CBT คือ เน้นบ้านเป็นศูนย์กลาง แต่ CBT
                     ให้ความส าคัญกับการมีส่วนร่วมของชุมชน มีการบริหารจัดการที่ชัดเจนในรูปองค์กรชุมชน จะพกค้างคืน
                                                                                                     ั
                     ในชุมชนในรูปแบบที่ชุมชนจัดการ อาทิ โฮมสเตย์ รีสอร์ทชุมชน ตั้งแคมป์ หรือไม่ค้างคืนก็ได้

                            5.3.1 องค์ประกอบของการจัดการท่องเที่ยวโดยชุมชน
                     การพัฒนาการท่องเที่ยวโดยชุมชน จะค านึงถึงองค์ประกอบหลัก 4 ด้าน กล่าวคือ

                            ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม
                                   ชุมชนมีฐานทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ และมีวิถีการผลิตที่พึ่งพา
                                   ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
                                   ชุมชนมีวัฒนธรรมประเพณีที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะถิ่น

                            องค์กรชุมชน
                                   ชุมชนมีระบบสังคมที่เข้าใจกัน
                                   มีปราชญ์ หรือผู้มีความรู้ และทักษะในเรื่องตาง ๆ หลากหลาย
                                                                         ่
                                   ชุมชนรู้สึกเป็นเจ้าของ และเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา

                            การจัดการ
                                   มีกฎ-กติกาในการจัดการสิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และการท่องเที่ยว
                                                               ื่
                                   มีองค์กรหรือกลไกในการท างานเพอจัดการการท่องเที่ยว และสามารถเชื่อมโยงการท่องเที่ยว
                     กับการพัฒนาชุมชนโดยรวมได้

                                   มีการกระจายผลประโยชน์ที่เป็นธรรม
                                   มีกองทุนที่เอื้อประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน
                            ด้านการเรียนรู้

                                   ลักษณะของกิจกรรมการท่องเที่ยวสามารถสร้างการรับรู้ และความเข้าใจในวิถีชีวิต และ
                     วัฒนธรรมที่แตกต่าง
                                   มีระบบจัดการให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ระหว่างชาวบ้านกับผู้มาเยือน
                                   สร้างจิตส านึกเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและวัฒนธรรม ทั้งในส่วนของชาวบ้าน
                     และผู้มาเยือน

                             การท่องเที่ยวมีความสัมพันธ์กับการพัฒนาชุมชนอย่างเป็นองค์รวม เนื่องจากทรัพยากรการท่องเที่ยว
                     กับทรัพยากรที่ชุมชนใช้เป็นฐานการผลิตเป็นทรัพยากรเดียวกัน วัฒนธรรมธรรมและสังคมเป็น
                                                                                                ั
                     ตัวขับเคลื่อนเรื่องจิตวิญญาณของชุมชน ในการสร้างสัมพนธ์กันภายในชุมชน และการสัมพนธ์กับภายนอก
                                                                     ั
   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96