Page 9 - C:\Work_chawee\1-64\นิเทศภายใน\
P. 9

3

               ตอนที่ 2 ผลการดำเนินงานด*านนิเทศภายในของสถานศึกษา

                        2.1 ชื่อรูปแบบ
                            การนิเทศแบบกัลยาณมิตร โดยใชDเทคนิคจับคูRนิเทศ (Pair share)  โรงเรียนธาตุนารายณ/วิทยา



                        2.2 สภาพปaจจุบัน/ปaญหา ข*อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา
                            2.2.1 ที่มาและความสำคัญของการนิเทศภายใน

                            การศึกษามีความสำคัญอยRางยิ่งตRอการพัฒนาชาติ โดยเฉพาะวิถีชีวิตของคนในสังคมที่ตDอง
               เตรียม พรDอมเขDาสูRยุคศตวรรษที่ 21 ที่มีความกDาวหนDาทางเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงหลายๆ ดDาน

               สอดคลDองกับกรอบแนวคิดแผนการศึกษาแหRงชาติ พ.ศ.2560 - พ.ศ.2579 ที่กำหนดวิสัยทัศน/ไวDวRา “คนไทย

               ทุกคนไดDรับการศึกษาและเรียนรูDตลอดชีวิตอยRางมีคุณภาพ ดำรงชีวิตอยRางเปSนสุข สอดคลDองกับหลักปรัชญา
                                                                                                        S
                                               ี่
               ของเศรษฐกิจพอเพียง และการเปลยนแปลงของโลกศตวรรษที่ 21” ดังนั้นการจัดการศึกษาจึงจำเปน
               ตDองคำนึงถึงการพัฒนาผูDเรียนอยRางมีประสิทธิภาพ  ความตDองการของสังคม ความแตกตRางระหวRางบุคคล
               การอยูRรRวมกับผูDอื่น  และการปรับตัวใหDเขDากับสภาพแวดลDอมในปrจจุบัน

                                                                                    ุ
                            พระราชบัญญัติการศึกษาแหRงชาติ พทธศกราช 2542 มาตรา 7 ระบวา  ในกระบวนการเรยนร   ูD
                                                              ั
                                                          ุ
                                                                                                      ี
                                                                                     R
               ตDองมุRงปลูกฝrงจิตสำนึกที่ถูกตDองเกี่ยวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย /
                                                            ี
               ทรงเปSนประมุข รจักรกษาและสRงเสรมสิทธิ หนDาที่ เสรภาพ ความเคารพกฎหมาย ความเสมอภาค และศักดิ์ศรี
                              D
                                              ิ
                                 ั
                              ู
               ความเปSนมนษย/ มีความภาคภูมิใจในความเปSนไทย รูDจักรักษาผลประโยชน/สRวนรวมและของประเทศชาต     ิ
                           ุ
               รวมทั้งสRงเสริมศาสนา ศิลปวัฒนธรรมของชาติ การกีฬา ภูมิปrญญาทDองถิ่น ภูมิปrญญาไทย และความรูDอันเปน
                                                                                                        S
                                                                                                       ูD
               สากล ตลอดจนอนุรักษ/ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลDอม มีความสามารถในการประกอบอาชีพ รจัก
               พึ่งตนเอง มีความริเริ่มสรDางสรรค/ ใฝwรูDและเรียนรูDดDวยตนเองอยRางตRอเนื่อง (กระทรวงศึกษาธิการ, 2542)
                            หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มีจุดมุRงหมายเพื่อมุRงพัฒนาให D
                                                 ี
                                               ี
                                          S
                                                      ู
                                                        ี
                                                                    ี
                                                                     ี
                                                                                                        ั
                                                                    ่
                                                          ุ
                                                                ี
                                                                  ิ
                                       /
                        S
                            ุ
                               /
               นกเรยนเปนมนษยทสมบรณ เปนคนด มความรD มคณภาพชวตทด และมีความสามารถในการดำรงชีวิตรRวมกบ
                 ั
                    ี
                                ่
                                ี
                                    ู
               ผูDอื่นในสังคมไดDอยRางมีความสุข ดDวยเหตุนี้จึงไดDมีการกำหนดแนวทางในการจัดการเรียนรูDโดยมุRงเนDนการฝก
                                                                                                        y
               กระบวนการคิดของนักเรียนและมุRงพัฒนาความสามารถทางอารมณ/  โดยการปลูกฝrงใหDนักเรียนเห็นคุณคRาของ
               ตัวเอง เขDาใจตนเองและผูDอื่น รวมทั้งสามารถแกDปrญหาความขัดแยDงทางอารมณ/ไดDอยRางถูกตDองเหมาะสม ดังนั้น
               การจัดการเรียนรูDในรายวิชาตRางๆ จึงมุRงสRงเสริมใหDมีกระบวนการคิดและวิธีการที่หลากหลาย เพื่อใหDนักเรียนได D
               คิด ทำ ทบทวน พิสูจน/ผล และนำไปประยุกต/ใชDในชีวิตจริง (สำนักวิชาการและมาตรฐานการศกษา, 2549)
                                                                                            ึ
                            เพื่อใหDการจัดการศึกษามีการพัฒนาสอดคลDองกับแผนการศึกษาแหRงชาติ พระราชบัญญัต   ิ
               การศึกษาแหRงชาต พุทธศักราช 2542  และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
                                ิ
               จึงจำเปSนตDองมีการติดตาม ประเมินผลการดำเนินตRางๆ ภายในสถานศึกษา ซึ่งการจัดการศึกษาใหDมีคุณภาพ
               ตDองประกอบดDวยกระบวนการที่สำคัญ 3 ประการคือ กระบวนการบริหาร กระบวนการจัดการเรียนการสอน
                                                                                ั
                                       ึ
                                                             ี
                                            ั้
                                                            ้
                               ิ
                                                            ี
                                                                         R
                                                                     ั
                                                                            ี
               และกระบวนการนเทศการศกษา ทง 3 กระบวนการนมความสำคญเทาเทยมกน ตDองดำเนินไปอยRางสอดคลDอง
               และสัมพันธกัน (สำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร, 2540  อDางถึงใน ชุติกาญจ/  เบญจพรวัฒนา, 2547)
                         /
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14