Page 44 - สรุปการพยาบาลผู้ใหญ่ 2
P. 44
5. มีการเปลี่ยนแปลง tidal volume < 200 ml.
6. O2 saturation < 90 % , ค่า arterial blood gas PaO2 < 60 mmHg
ื
่
่
่
ุ
่
7. ถ้าผู้ปวยไมผ่านการ wean ให้ดสาเหต เชน เสมหะมากหรอเสมหะอุดตัน ให้ suction และชวยหายใจโดยให้ positive
ู
่
ื่
ื่
pressure ด้วย self inflating bag (ambu bag) ถ้ายังหายใจเหนอย ให้กลับไปใช้เครองชวยหายใจ ใน mode
ventilator เดิม ที่ใช้ก่อน wean หรอตามสภาพอาการผู้ปวย
ื
่
่
่
่
ระยะกอนถอดทอชวยหายใจ
่
ื่
่
ื
ู
่
่
เมอผู้ปวยหย่าเครองชวยหายใจ หรอหายใจเองได้โดยไมใช้เครองชวยหายใจ 30-120 นาที และแพทย์ตรวจดอาการแล้ว
ื่
ื่
ขั้นตอนตอไปจะถอดท่อช่วยหายใจให้ผู้ปวย จงควรมีการประเมินและเตรยมอุปกรณก่อนถอดท่อช่วยหายใจ ได้แก่
ึ
ี
์
่
่
1. ประเมินว่าผู้ปวยความรสกตัวดี มี reflex การกลืน การไอดี
่
ู
้
ึ
่
ู
ิ
่
ั
่
2. ประเมินปรมาณเสมหะผู้ปวย เสมหะไม่เหนยวข้น และ การดดเสมหะแตละคร้ง หางกัน > 2 ชั่วโมง
ี
ั
ี
ี
3.วัด cuff leak test มเสยงลมร่ว (cuff leak test positive)
้
่
่
4. ให้ผู้ปวยงดน ้าและอาหาร 4 ชม. เพื่อปองกันการส าลักเข้าหลอดลม และปอด ถ้าต้องใสท่อช่วยหายใจใหม ่
5. เตรยมอุปกรณให้ออกซเจน
ิ
์
ี
์
่
6. Check อุปกรณใสท่อช่วย หายใจให้มีพรอมใช้
้
- Endotracheal tube No. 7, 7.5, 8
- Laryngoscope/ blade
- เช็คไฟให้สว่างด ี
- Ambu bag (self inflating bag
- Mask No. 3, 4
- Oral airway No. 4, 5
- Stylet
- Syringe 10 CC.
- K-Y jelly
ั
่
่
ระยะถอดทอชวยหายใจ และดูแลหลงถอดทอชวยหายใจ
่
่
1. บอกให้ผู้ปวยทราบ
่