Page 39 - สรุปการพยาบาลผู้ใหญ่ 2
P. 39
่
ื
ู
2.2 ภาวะถุงลมปอดแตก (pulmonary barotrauma) จากการตั้ง tidal volume มากเกินไป หรอตั้งคา PEEP สงกว่า
10 cmH2O
ิ
ึ
2.3 ภาวะปอดแฟบ (atelectasis) เกิดข้นได้จากการตั้งปรมาตรการหายใจต า หรอจากการดดเสมหะในทอชวย
่
่
ู
่
ื
หายใจนาน จงต้องให้ออกซเจนด้วยการบีบปอดช่วยหายใจหลังจากการดูดเสมหะ
ิ
ึ
2.4 ภาวะพิษจากออกซเจน (oxygen toxicity) เกิดจากผู้ปวยได้รบความเข้มข้นของออกซเจน FiO2 มากกว่า 0.5
ิ
่
ิ
ั
(50%) หรอ 100 % ติดต่อนาน 24- 48 ชม จะเกิดการท าลายเน้อปอด ถุงลมขาดก๊าซไนโตรเจน จงมโอกาสเกิด
ี
ื
ึ
ื
พิษของออกซเจน ถ้าพยาธสภาพดข้น จะต้องคอยๆ ปรบ FiO2 ลดลง
ิ
ิ
ึ
ี
่
ั
ิ
ึ
่
ุ
2.5 ภาวะเลือดไมสมดลของกรด (respiratory acidosis) หรอดาง (respiratory alkalosis) จงต้องปรบปรมาตรลม
่
ื
ั
ื
็
หายใจ หรออัตราการหายใจให้เหมาะสม และติดตามผล arterial blood gas เปนระยะ
่
ื่
2.6 ภาวะปอดอักเสบจากการใช้เครองช่วยหายใจ (ventilator associated pneumonia : VAP) มักพบในผู้ปวยที่ใส ่
ื
ึ
่
่
ี
ี
ื
ื่
่
่
ท่อชวยหายใจ และใช้เครองชวยหายใจ ชวง 4 วัน หรอนานกว่า ซงอาจเกิดจากเช้อแบคทเรยในชองปาก
่
ื
่
หรอทางเดนหายใจสวนบนเข้าไปในหลอดลม ส าลักส่งคัดหลั่ง (secretion) น ้าย่อย หรอปนเปอนเช้อจาก
ิ
ื
ื้
ื
ิ
อุปกรณ ์
ื
3. ระบบทางเดินอาหาร อาจมีแผล หรอเลือดออกในทางเดินอาหาร จากภาวะเครยดหรอขาดออกซเจน แพทย์จงให้
ี
ื
ึ
ิ
ยาลดการหลั่งกรด เชนยา Sucralfate, Omeprazole
่
4. ระบบประสาท เนองจากเครองช่วยหายใจให้แรงดันบวก ท าให้เลือดด าไหลกลับจากสมองน้อยลง อาจท าให้ผู้ปวย
ื่
ื่
่
มีความดันในกะโหลกศีรษะสง (increase intracranial pressure) จงควรจัดท่าศีรษะสง 30-45 องศา ระวังไม่ให้คอ
ู
ู
ึ
ื่
้
พับ และปองกันการไอและต้านเครอง
ี
ี
่
5. ปญหาดานจิตใจ ผู้ปวยอาจมความเครยด กลัว วิตกกังวล คับข้องใจที่ต้องพึงพาผู้อื่น ถูกจ ากัดการเคลื่อนไหว
่
ั
้
ส าหรบผู้ปวยที่อยู่ในหอผู้ปวยวิกฤตเกิน 3 วัน อาจมีอาการ ICU syndrome (ซม สับสน กระสับกระสาย) พยาบาล
่
ึ
ั
่
่
จงควรทักทาย บอกวัน เวลา ให้ผู้ปวยรบรทุกวัน ดูแลช่วยเหลือกิจวัตรต่างๆ และให้ก าลังใจ
ึ
ั
่
ู
้
ื่
่
้
ั
่
้
์
ั
ค าศพทที่ใชในการตงคาเครองชวยหายใจ
ั
ื
่
1. F หรอ rate หมายถึง คาอัตราการหายใจควรตั้งอัตราการหายใจประมาณ 12-20 คร้ง/นาท ี
ื
็
ิ
2. Vt : tidal volume เปนค่าปรมาตรอากาศที่ไหลเข้าหรอออกจากปอดผู้ปวยหรอค่าปรมาตรการหายใจเข้าหรอออกใน 1
ื
ื
ิ
่
ั
ั
คร้ง ของการหายใจปกติ มีหนวยเปนมิลลิลิตร ค่าปกติประมาณ 7-10 มิลลิลิตร/ กิโลกรม
่
็
่
ื
่
่
ุ
ี
ุ
3. Sensitivity หรอ trigger effort เปนคาความไวของเครองทตั้งไว้ เพือให้ผู้ปวยออกแรงน้อยทสด ในการกระต้นเครองชวย
่
่
่
่
ี
ื
่
็
ื
หายใจ ตั้งคาประมาณ 2 lit/min
่
ื
่
ิ
่
็
็
์
ิ
4. FiO2 (fraction of inspired oxygen) เปนคาเปอรเซนต์ออกซเจนทเปดให้ผู้ปวย ตั้งคาประมาณ 0.4-0.5 หรอ 40-50 % แต ่
่
่
ี
ั
ี
่
ุ
ิ
ี
ุ
่
ุ
ิ
ถ้าผู้ปวยมพยาธสภาพรนแรง เชน ภาวะปอดอักเสบรนแรง ปอดได้รบบาดเจ็บจนมภาวะขาดออกซเจนรนแรง (severe
ั
ื
hypoxia) ภาวะหลังจากหัวใจหยุดเต้น (post cardiac arrest) จะตั้งคาออกซเจน 1 หรอ 100 % เมออาการดข้น จงคอยๆ ปรบ
ึ
ี
ึ
่
ื
่
ิ
่
ลดลงมา