Page 67 - สรุปการพยาบาลผู้ใหญ่ 2
P. 67
5.2 Second degree AV block
้
้
จดก าเนดไฟฟามาจาก SA node น าสัญญาณไฟฟาไปที่ AV node บางจังหวะผ่านได้ บางจังหวะถูกขัดขวางท าให้
ุ
ิ
ิ
ิ
็
ี
อัตราการเต้นของเวนตรเคิลน้อยกว่าเอเตรยม ความผิดปกติอยู่ที่ AV node แบ่งเปน 2 ชนดคือ
5.2.1 Second degree AV block type I (Mobitz type I or Wenckebach)
5.2.2 Second degree AV block type I (Mobitz type I I)
5.2.1 Second degree AV block type I (Mobitz type I or Wenckebach) สาเหตสวนใหญเกิด
ุ
่
่
จากการตายของผนังหัวใจด้านล่างพิษจากดิจทาลิส
ิ
ิ
ึ
ิ
ิ
ลักษณะทางคลินก ข้นอยูกับอัตราการบบตัวของเวนตรเคลจะมอาการเมอเวนตรเคลเต้นช้า
ิ
ี
ิ
่
่
ื
ี
มาก คือ หายใจล าบาก เจ็บหน้าอก
้
การตรวจคลื่นไฟฟา จะพบว่า
อัตราการเต้นของหัวใจช้ากว่าปกติ จังหวะการเต้นเอเตรยมสม ่าเสมอ แต่การเต้นของเวนตรคู
ี
ิ
่
ิ
ื
่
์
่
ลารไมสม าเสมอ P wave ปกตจ านวน P wave มากกว่า QRS complex PR interval ยาวข้นเรอยๆ จาก
ึ
ึ
่
ี
่
จังหวะหนงไปอีกจังหวะหนงจนกระทั่งไมม QRS complex มักจะปกต ิ
่
ึ
ิ
ุ
5.2.2 Second degree AV block type I (Mobitz type I I) รนแรงกว่าชนดที่ 1 มักพบใน AMI
ุ
โรคหลอดเลือดหัวใจอย่างรนแรง
่
่
ึ
ลักษณะทางคลินก อาการของผู้ปวยข้นอยูกับการบบตัวของเวนตรเคล ถ้าช้ากว่า 50 นาทตอ
ิ
่
ี
ี
ิ
ิ
ั
ั
ี
คร้ง จะมอาการหายใจล าบาก เจ็บหน้าอก สมองได้รบเลือดไปเลี้ยงไมเพียงพอ
่
้
การตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจจะพบว่า
อัตราการเต้นของเอเตรยม 60-100 คร้งตอนาท สวนเวนตรเคลข้นอยูกับอัตราการบบตัวของเอ
ิ
ั
ิ
่
ี
ึ
่
ี
ี
่
ี
ิ
่
เตรยม จังหวะการเต้นของหัวใจสม าเสมอ บางจังหวะ QRS complex หายไป P wave ปกตจ านวน P
wave มากกว่า QRS complex PR interval ปกติและคงที่ตลอด QRS complex มักจะปกต ิ
5.3 การขัดขวางสัญญาณไฟฟาจาก SA node ไป AV node ระดับที่ 3 (Third-degree AV block or Complete heart
้
block)
การขัดขวางการน าสัญญาณอย่างสมบูรณที่บรเวณ AV node ท าให้สัญญาณจาก SA node ผ่าน AV node ไปเวนตร ิ
ิ
์
้
่
ุ
ิ
เคิลไมได้ สาเหตมักเกิดจากระบบน าสัญญาณไฟฟาบรเวณ AV node ขาดเลือด การกระต้นประสาทเวกัสอย่างรนแรง พิษ
ุ
ุ
ิ
จากยาดิจทาลิส
ิ
ลักษณะทางคลินก
ื่
ิ
็
ผู้ปวยจะมีอาการเปนลมชักเนองจากสมองขาดเลือด อาจมีเวนตรเคิลซ้ายล้มเหลว
่