Page 8 - รายงาน PLC กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 62
P. 8
ขั้นตอนที่ 3 วางแผนและออกแบบกิจกรรม
ในการประชุม ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 22 พฤศจิกายน 2562
ั
ร่วมกันคิดและวางแผนร่วมกนในการก าหนดแนวทางการแก้ปัญหาที่พบจากการจัดการเรียนการ
สอน /การปฏิบัติงาน (รูปแบบ/วิธีการ/นวัตกรรม ) และจะน าไปปฏิบัติจริงตามแนวทางดังนี้
1. แนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่น ามาใช้ในการแก้ปัญหา คือ การสร้างแบบฝึกเพื่อใช้ในการ
สร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขาเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกาย
2. ชื่อกิจกรรม แบบฝึกกระโดดเชือก
3. ขั้นตอนวิธีสอนหรือขั้นตอนในการด าเนินการแกปัญหาโดยใช้แนวทางที่เลือกได้ ดังนี้
้
3.1 ศึกษาวางแผนและสร้างแบบฝึกการกระโดดเชือก
3.2 จัดเตรียมอุปกรณ์
3.3 ประเมินสมรรถภาพทางกายของนักเรียนก่อนการฝึก
3.4 ด าเนินกิจกรรมฝึกกระโดดเชือกกับนักเรียนในคาบเรียนวิชาพลศึกษา ติดต่อกันเป็นเวลา
4 สัปดาห์ โดยครูผู้สอน
3.5 เปรียบเทียบการสมรรถภาพทางกายของนักเรียนและมีการพัฒนาหรือไม่อย่างไร
4. เครื่องมือที่ใช้ในการเกบรวบรวมข้อมูล
็
ที่ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมล การเก็บรวบรวมข้อมูล
ู
้
1 แบบบันทึกผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ครูผู้สอนเป็นผู้เก็บรวบรวมขอมูล
้
2 แบบสังเกตการปฏิบัติกิจกรรม ครูผู้สอนเป็นผู้เก็บรวบรวมขอมูล
3 แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียน นักเรียน
ในการประชุม ครั้งที่ 4 เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2562
ร่วมกันอภิปราย และก าหนดกรอบเวลาการน าไปปฏิบัติจริง ดังนี้
1. การสรุปผลการอภิปรายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการเลือกนวัตกรรมในการแก้ไขปัญหา
ข้อเสนอแนะ/ความเห็นผู้เชี่ยวชาญหรือผู้มีประสบการณ์
การสร้างแบบฝึกการกระโดดเชือกควรมีปริมาณการฝึกอย่างเพียงพอและมีปริมาณในการฝึกให้
มากขึ้นตามล าดับและที่ส าคัญควรเตรียมความพร้อมร่างกายของนักเรียนก่อนใช้แบบฝึก
สรุปความเห็นของผู้เชี่ยวชาญผสานกับความคิดเห็นของกลุ่ม
หากน าไปใช้ฝึกกับเด็กที่กระโดดเชือกไม่ได้ควรมีการลดปริมาณการฝึกหรือหากิจกรรมสอดแทรก
เพื่อกระตุ้นความสนใจของนักเรียน และควรจัดเตรียมอุปกรณ์เชือกกระโดดให้เพียงพอกับนักเรียน