Page 211 - ทักษะการเรียนรู้ ม.ปลาย
P. 211

202


                           -  การค้นหาข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานต่อไป การค้นหาข้อมูล

               จะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นย า รวดเร็ว จึงมีการน าคอมพิวเตอร์เข้ามามีส่วนช่วยในการท างาน ท าให้เรียกค้น

               กระท าได้ทันเวลา
                           -  การท าส าเนาข้อมูล การท าส าเนาเพื่อที่จะน าข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือน าไปแจกจ่ายใน

               ภายหลัง จึงควรจัดเก็บข้อมูลให้ง่ายต่อการท าส าเนา หรือน าไปใช้อีกครั้งได้โดยง่าย

                           -  การสื่อสาร ข้อมูลต้องกระจายหรือส่งต่อไปยังผู้ใช้งานที่ห่างไกลได้ง่าย การสื่อสารข้อมูล
               จึงเป็นเรื่องส าคัญและมีบทบาทที่ส าคัญยิ่งที่จะท าให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ใช้ท าได้รวดเร็วและทันเวลา

                       5.  เทคนิคการรวบรวมข้อมูล ผู้เรียนสามารถรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ เช่น ตาดู (สังเกต) หูฟัง (สนใจ

               ตอบรับ) ปากถาม (กระตุ้น ซักถาม ชวนคุย) สมองคิดจ า (เชื่อมโยง สมเหตุสมผล) และมือจด (สรุป บันทึก)
               เพื่อจับประเด็นและสามารถท าการรวบรวมข้อมูลได้ด้วยวิธีการทางวิชาการต่าง ๆ พอสังเขป ดังนี้

                      1.  การสังเกต ได้แก่ การค้นหาข้อมูลด้วยตนเองโดยตรง เช่น การสังเกตพฤติกรรม หรือเหตุการณ์

               ต่าง ๆ ในชีวิตประจ าวัน สามารถเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ทีมงานหรือไปสังเกตด้วยตนเอง

                      2.  การสัมภาษณ์ ได้แก่ การรวบรวมข้อมูลจากบุคคลอื่น ๆ โดยผู้ถามใช้ค าพูดในการถาม และ
               ผู้ตอบให้ค าพูดในการตอบจากครอบครัว ญาติ พี่น้อง เพื่อนบ้าน ซึ่งสามารเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง

                      3.  การตอบแบบสอบถาม ได้แก่ แบบรายการค าถามที่ให้ผู้อื่นตอบค าถามตามที่ผู้ถามต้องการ

               การสอบถามทางโทรศัพท์ สามารถให้ตอบและจัดรับส่งทางไปรษณีย์

                      4.  การศึกษาเอกสารหรือแหล่งที่เก็บข้อมูล ได้แก่ ข้อมูลจากหนังสือพิมพ์ วารสาร คอมพิวเตอร์
               เทปบันทึกภาพ เทปบันทึกเสียง ข้อมูลสารสนเทศ ทางอีเมล์ ทางเว็บไซต์ เพื่อใช้เป็นหลักฐาน

                      5.  การทดสอบ/ทดลอง และการส ารวจ ได้แก่ การทดสอบเรื่องต่าง ๆ ท าการทดลองกับสิ่งของ

               และการส ารวจข้อมูลร้านค้าในบริเวณใกล้เคียง เช่น อาหาร เครื่องดื่ม หรือสินค้าอะไรขายดีที่สุดในหมู่บ้าน
               หรือไปถึงสถานที่จริง ๆ เป็นต้น

               การบันทึกข้อมูล

                       เมื่อได้มีการศึกษา จัดเก็บ และรวบรวมข้อมูลอย่างหลากหลาย ก็ต้องมีการบันทึกข้อมูลเหล่านั้นไว้
               เพื่อการวิเคราะห์และสังเคราะห์ต่อไป การบันทึกข้อมูลที่มีประสิทธิภาพนั้น เทคนิคการเรียงความ ตีความ

               ย่อความ สรุปความ ที่ได้ศึกษาจากสาระวิชาภาษาไทย และสาระวิชาอื่น ๆ มาแล้ว สามารถน าทักษะเหล่านั้น

               มาประยุกต์ใช้ได้ และยังสามารถน าไปบันทึกผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล การจัดกระท าข้อมูล
               เป็นสารสนเทศได้อีกด้วย หากมีข้อมูลจ านวนมากต้องบันทึก หลักการย่อความเป็นเทคนิคที่ควรฝึกฝน

               และน าไปปฏิบัติดังนี้

                      1.  อ่านข้อความที่จะย่อให้เข้าใจ หาใจความส าคัญของแต่ละย่อหน้าและใจความรองที่ส าคัญ ๆ

                      2.  น าใจความส าคัญและใจความรองมาเรียบเรียงด้วยส านวนของตนเอง
                      3.  ถ้าข้อความที่อ่านไม่มีชื่อเรื่องต้องตั้งชื่อขึ้นเอง กรณีตัวเลขหรือจ านวนต้องระบุหน่วยชัดเจน

                      4.  ข้อความร้อยกรอง ต้องเปลี่ยนเป็นร้อยแก้วในความย่อ
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216