Page 18 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 18

โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G








                       5. ความประเมินเหมาะสมของ use cases ต่างๆ ส าหรับการให้บริการ 5G ในอนาคต

                              ในภาพรวมแล้ว use cases ของโครงการย่อยที่ 3-14 ที่ได้ท าการทดสอบกับโครงข่าย 5G

                                                                          ิ
                       ล้วนแต่มีความน่าสนใจที่จะน าไปพัฒนาต่อ  เพื่อน าไปใช้งานเชงพาณิชย์ต่อไป  เพราะเป็นการใช้งาน
                       ส าหรับโลกอนาคตอย่างแน่นอน อย่างไรก็ดี มีโครงการย่อยที่ 3, 4, 12, 13 ไม่ได้ท าการทดสอบกับ

                       โครงข่าย 5G เนื่องจากนักวิจัยวางแผนเป็นเฟสต่อไปถ้าหากได้รับทุนสนับสนุนต่อในปีที่สอง (โครงการ

                       ที่ 3, 12, 13) และปัญหาของการทดลองทดสอบในบริเวณโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ (โครงการที่ 3, 4)
                       จะท าการทดสอบกับโครงข่าย 5G ไม่ได้ เนื่องจาก Sandbox 5G ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไม่ได้

                       ครอบคลุมบริเวณพื้นที่ของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ นอกจากนี้ โครงการที่ 7 น าการใช้งาน Virtual

                       Reality มาใช้ในการเรียนการสอนเพื่อความเสมือนจริง แต่ไม่ได้ท าการทดสอบกับโครงข่าย 5G และ
                       สุดท้าย use case ของโครงการที่ 11 มีปัญหาในการติดต่อกับผู้ประกอบการ และการขออนุญาตบิน

                       โดรน  ท าให้นักวิจัยเก็บข้อมูลจากโครงข่าย  5G  ได้น้อย  อย่างไรก็ดี  ผู้วิจัยได้จัดท าระเบียบวิธีการ

                       ตรวจวัดสภาพอากาศ TINV จากข้อมูลและการทดสอบในโครงข่ายปัจจุบัน ซึ่งสามารถน าไปเก็บข้อมูล
                       ในย่านความถี่ของสัญญาณ 5G ได้ในอนาคต

                              รายละเอียดโดยสรุป ส าหรับการใช้งาน use cases ต่างๆ ในโครงการย่อยที่ 3-14 ผ่านการ

                       ทดลองทดสอบในโครงข่าย 5G เป็นดังต่อไปนี้


                       •      โครงการที่ 3 การส่งข้อมูลภาพการตรวจโรคตาทางไกลผ่านระบบสื่อสารแบบไร้สายเพื่อ

                       การผ่าตัด
                              นักวิจัยทดสอบการออกแบบระบบและอุปกรณ์สื่อสารด้วยเทคโนโลยี  PACS  (Picture

                       Archiving and Communication System) เพื่อส่งข้อมูลภาพการตรวจโรคตาจากห้องผ่าตัดหลัก ไป

                       ยังห้องตรวจโรคในพื้นที่ของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ นักวิจัยสรุปว่า โครงการนี้ตอบวัตถุประสงค์ที่ตั้ง
                       ไว้ส าหรับงานวิจัย  คือสามารถออกแบบ  และติดตั้ง  ระบบการส่งข้อมูลภาพการตรวจโรคตาทางไกล

                       แบบ HD (high definition) ขนาด 6 เมกะไบท์ (MB)  ผ่านระบบสื่อสารแบบไร้สายด้วยเทคโนโลยี 4G

                       ของผู้ให้บริการ  True,  AIS,  DTAC  ได้ส าเร็จและใช้งานได้จริงที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์  และระบบ
                       ดังกล่าวรองรับการส่งวิดิโอด้วยความเร็ว 2 เมกะบิตต่อวินาที (Mbps) ระบบดังกล่าวยังช่วยเพิ่มความ

                       สะดวกและรวดเร็วให้ส าหรับแพทย์และคนไข้ในการเข้ามารักษา   รวมถึงความปลอดภัยในการเก็บ

                       ข้อมูลด้วยระบบฐานข้อมูลแบบส่วนตัวอีกด้วย





                       [เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                               8

                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23