Page 21 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 21
โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G
สื่อ VR (Virtual Reality) 360 คือมีการบันทึกภาพรอบทิศทาง จ าลองให้เสมือนอยู่ในเหตุการณ์จริง
เช่น การจ าลองสถานที่ใน Google street view เป็นต้น โดยทางโครงการได้ผลิตตัวอย่างจ านวนสื่อ
VR 360 จ านวน 10 เรื่อง
นอกจากนี้ ได้ท าการศึกษาและพัฒนาตัวอย่างซอฟต์แวร์ VR เพื่อการประยุกต์ใช้ใน
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประกอบด้วย
1. การเรียนการสอนทางวิศวกรรมศาสตร์ ได้แก่
1.1 ระบบจ าลองการอบรมใช้งานเครื่อง CNC (Computer Numerical Control) ขนาดใหญ่
ส าหรับงานอุตสาหกรรม เรียกว่า CNC Training VR simulator ซึ่งจ าลองการใช้งานเครื่องจักรที่
ั
สามารถกัด ตัด เจาะ หรือ แกะสลักชิ้นงานได้ อย่างอตโนมัติ เพื่อสอนนิสิตของภาควิชาวิศวกรรมอุต
สาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาฯ
1.2 ระบบจ าลองเพื่อการเรียนการสอนระบบรถไฟฟ้า โดยจัดท า VR ของแบบจ าลองรถไฟฟ้า
สายสีลม
1.3 การเรียนการสอนในวิชาปฏิบัติการเชื่อมอาร์คและการหล่อโลหะ
2. การเรียนการสอนทางสายสังคมศาสตร์ ได้แก่
2.1 แอพลิเคชันเสมือนจริงเพื่อการเรียนภาษาจีน
นักวิจัยพบว่า ผลการทดสอบการใช้งานชุดการเรียนการสอนดังกล่าว เป็นที่น่าพอใจ
้
นอกจากนี้ นักวิจัยยังไดจัดอบรมในการสร้างซอฟต์แวร์ เพื่อประกอบวิชาชพและงานอุตสาหกรรม
ี
ได้แก่
- การอบรมการใช้งานกล้อง 360 องศายี่ห้อ GoPro Max และการสร้างสื่อ VR 360 จ านวน
12 ครั้ง มีผู้เข้าอบรมรวมทั้งสิ้น 208 คน
- จัดอบรมการสร้างและพัฒนา VR application โดยใช้โปรแกรมสร้างโมเดล 3 มิติ ชื่อวา
่
Blender ส าหรับผู้เริ่มต้น และส าหรับการศึกษาด้านสัตวแพทย์ และโปรแกรมสร้าง Game
application ชื่อว่า Unity รวม 6 ครั้ง มีผู้เข้าอบรมรวมทั้งสิ้น 72 คน
• โครงการที่ 8 การพัฒนาต้นแบบยานยนต์อัตโนมัติส าหรับรถแบ่งปันกันใช้
จุดเด่นของโครงการนี้ คือ เป็นต้นแบบยานยนต์ขับขี่อัตโนมัติระดับขั้นที่ 3 และสามารถ
ควบคุมจากระยะไกล ผ่านโครงข่าย 5G (ใช้ซิมและ CPE 5G เป็นตัวรับส่งสัญญาณ ย่านความถี่ 2.6
GHz) โดยนักวิจัยพบว่า โครงข่าย 5G มีความเร็วในการส่งข้อมูลเพียงพอต่อการท างาน ที่มีการส่งภาพ
วิดิโอจากกล้อง web cam ความละเอียด 1080 p จ านวน 3 ตัว และมีการส่งค าสั่งไปควบคุมการขับ
[เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 11
แบบ กทปส. ME-003