Page 22 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 22

โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G







                       ขี่บนรถต้นแบบ  คือ  รถกอล์ฟไฟฟ้าขนาด  6  ที่นั่ง  นักวิจัยพบว่ามีความหน่วงของการส่งข้อมูล
                       (latency) เฉลี่ยไม่สูงมากนัก ไม่ส่งผลต่อการควบคุมรถให้วิ่งด้วยความเร็ว 30 กม. ต่อชั่วโมง ผลการ

                       ทดสอบให้รถวิ่งโดยอัตโนมัติรอบสนามใหญ่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่าเป็นที่น่าพอใจ รถสามารถ

                                            ้
                       วิ่งตามเส้นทางที่ก าหนดไวในแผนที่ได้อย่างแม่นย า  ไม่ออกนอกเส้นทาง  หรือบ่งบอกถึงการเสีย
                       เสถียรภาพ และมีศักยภาพที่จะพัฒนาต่อยอดไปสู่การใช้งานจริง ทั้งในด้านการขนส่งของ หรือส่งคน

                       ในพื้นที่เฉพาะ หรือพื้นที่สุ่มเสี่ยงต่อการติดเชื้อโรค รังสี วัตถุระเบิด เช่น มหาวิทยาลัย โรงพยาบาล

                       โรงงาน หน่วยงานราชการ เป็นต้น


                       •  โครงการที่ 9 การพัฒนาต้นแบบยานยนต์อัตโนมัติ  ส าหรับการเคลื่อนย้ายรถแบ่งปันกันใช้

                          ระหว่างสถานีจอดในโครงการ CU Toyota Ha:mo
                              โครงการนี้ติดตั้งระบบ Smart Parking เพื่อใช้งานในเครือข่ายสถานีจอดของ CU Toyota

                       Ha:mo  สาธิตในการจัดการด้านที่จอด  เมื่อมีการเคลื่อนย้ายรถอย่างอัตโนมัติ  และท าการพัฒนา

                       รถยนต์ขับเคลื่อนได้เองโดยอัตโนมัติ  มีการติดตั้งระบบสื่อสารกับโครงข่าย  เพื่อใช้งานระบบ  V2X
                       (Vehicle  to  Everything)  ส าหรับใช้เคลื่อนย้ายรถระหว่างสถานีอย่างอัตโนมัติ  (Autonomous

                       relocation  system)  เป็นการสื่อสารกับสถานีฐานของระบบดาวเทียมน าร่อง  (Vehicle-to-GNSS

                       RTK base station) เพื่อเพิ่มความแม่นย าในการหาพิกัดต าแหน่งและน าทางรถ  สุดท้าย โครงการนี้
                       พัฒนาระบบจอดรถอัตโนมัติส าหรับรถ CU Toyota Ha:mo โดยใช้การน าทางด้วยระบบดาวเทียมน า

                       ร่อง (GNSS RTK) ใช้ความเร็วต ่าไม่เกิน 20 กม. ต่อ ชม.

                              จากการทดลอง  นักวิจัยพบวา  รถเคลื่อนย้ายต าแหน่งตามเส้นทางมายังสถานีจอดปลายทาง
                                                      ่
                       ท าได้ค่อนข้างดี  พบการแกว่งตัวบ้างเล็กน้อย  รถวิ่งตามเส้นทางที่ก าหนดไว้  และอยู่ในช่องทางวิ่ง

                       (Lane) ได้ตลอดเส้นทางทดสอบ ในการทดสอบ นักวิจัยใช้ซิม 4G LTE ที่อยู่ใน router ท าการสื่อสาร

                       กับสถานีฐาน GNSS RTK พบว่า ความเร็วและความหน่วงในการสื่อสารไม่มีผลกระทบกับการท างาน
                       แต่อย่างใด หากใช้ระบบ 5G ก็ยิ่งจะมีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น

                              ส าหรับการเข้าจอดรถแบบอัตโนมัติ  รถสามารถสื่อสารกับไม้กั้น  (บริเวณที่จอดรถ)  ผ่าน

                       สัญญาณ Bluetooth และ NB-IoT ผ่านโครงข่าย 5G ระหว่างรถและอุปกรณ์ Smart Parking ได้
                       ทันเวลา การสื่อสารมีความหน่วงต ่า (low latency) และมีความเร็วเพียงพอต่อการท างานของระบบ

                       Smart Parking จังหวะการจอดและการเอาไม้กั้นลงเป็นไปอย่างสอดคล้อง สามารถน าไปต่อยอดเพื่อ

                       เพิ่มความปลอดภัย  คือการใช้ช่องทางเฉพาะส าหรับรถขนย้ายอัตโนมัติ  และการใช้เทคโนโลยีการ
                       สื่อสารระหว่างรถและสิ่งต่างๆรอบตัว  (Vehicle-to-Everything:  V2X)  เช่นระหว่างยานพาหนะที่



                       [เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                              12

                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27