Page 19 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 19

โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G







                              ส่วนเทคโนโลยี  5G  นักวิจัยสรุปว่า  จะเหมาะสมกับการใช้งานการส่งข้อมูลวิดิโอที่มีความ
                       ละเอียดสูงแบบ  HD  และใช้งานแบบเวลาจริง  (real-time)  ผ่าน  VDO  streaming  ตามคุณสมบัติ

                       URLLC  (ultra-reliable  and  low-latency  communications)  ของเทคโนโลยี  5G  ซึ่งนักวิจัย

                       วางแผนจะด าเนินการทดสอบในปีที่ 2 แต่ว่าโครงการสิ้นสุดลงเสียก่อน


                       •  โครงการที่ 4 การพัฒนาการสื่อสารและส่งถ่ายข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพอากาศใน

                          โรงพยาบาล
                              โครงการนี้ศึกษาแนวทางการตรวจวัดคุณภาพอากาศที่เหมาะสมส าหรับโรงพยาบาล  โดยท า

                       การทดสอบที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์  ด้วยเทคโนโลยี  IoT  และทดสอบการสื่อสารและส่งถ่ายข้อมูล

                       การตรวจวัดคุณภาพอากาศ ด้วยเทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน (4G, Wifi, NB-IoT) และเตรียมส าหรับ
                       การส่งข้อมูลด้วยเทคโนโลยี 5G ในอนาคต

                              นักวิจัยได้เลือกพารามิเตอร์ตรวจวัด  ประกอบด้วย  ฝุ่นละออง  (PM10,  PM2.5  และ

                       PM1)   อุณหภูมิ ความชื้นสัมพัทธ์ และ ก๊าซ  CO2   ข้อมูลที่อ่านได้จาก  sensor  จะถูกส่งขึ้นระบบ
                       cloud ไปยัง server และแสดงผลบน platform ที่พัฒนาขึ้นภายใต้โครงการฯ ผลการทดสอบ พบว่า

                       ระบบที่พัฒนาขึ้นสามารถช่วยด้านการประหยัดพลังงานที่ใช้ในการส่งข้อมูล การแปลความหมาย การ

                       ประมวลผลข้อมูล และค่าใช้จ่ายในการส่งข้อมูล   นอกจากนี้ยังสามารถน าไปต่อยอดในการออกแบบ
                       ระบบการสื่อสารและส่งถ่ายข้อมูลการตรวจวัดคุณภาพอากาศที่มีประสิทธิภาพ เพื่อเตรียมส าหรับการ

                       ส่งข้อมูลด้วยเทคโนโลยี 5G ในอนาคต



                       •  โครงการที่ 5 การพัฒนาและควบคุมหุ่นยนต์บริการผ่านโครงข่าย 5G
                                                             ์
                              โครงการนี้ทดสอบการควบคุมหุ่นยนตบริการต้นแบบ  เพื่อส่งของ  ได้แก่  พัสดุขนาดเล็ก
                       เครื่องดื่ม  และการตรวจตราเพื่อรักษาความปลอดภัย  โดยนักวิจัยพบว่า  เมื่อท าการทดสอบการ

                       เชื่อมต่อหุ่นยนต์กับระบบการบริหารจัดการผ่านโครงข่าย  4G  มีข้อจ ากัดในการควบคุมหุ่นยนต์จาก
                       ระยะไกล และคาดว่าจะมีศักยภาพสูงขึ้นหากหุ่นยนต์สามารถใช้ศักยภาพของโครงข่าย 5G โดยเฉพาะ

                       คุณสมบัติ URLLC (ultra-reliable and low-latency communications)

                              ส าหรับคุณภาพในการส่งสัญญาณภาพดีขึ้น  เมื่อทดสอบกับโครงข่าย  5G  ในด้าน  package
                       loss, round trip time, jitter buffer, freeze count, freeze duration ดังนั้น การพัฒนาหุ่นยนต์

                       เพื่อรักษาความปลอดภัยจะได้ใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติด้าน  eMBB  (enhanced  mobile





                       [เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                               9

                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24