Page 23 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 23

โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G







                       เคลื่อนย้ายอัตโนมัติ กับยานพาหนะ และโครงสร้างพื้นฐานอื่นๆ เช่น สัญญานไฟจราจร บริเวณทาง
                       แยก เป็นต้น




                       •  โครงการที่ 10 การติดตั้งและทดสอบระบบการใช้งานเสาไฟฟ้ายุคหน้าบ้าน บนเทคโนโลยี

                          5G

                              โครงการนี้จัดท าต้นแบบ smart pole ขึ้นจากแนวคิดการผสมผสานสิ่งที่จ าเป็นบนท้องถนน
                       ไว้บนเสานี้  ได้แก่  ระบบส่องสว่าง  กล้องวงจรปิดเพื่อรักษาความปลอดภัย  เครื่องตรวจวัดมลพิษใน

                       อากาศ ชุดปล่อยการสื่อสารไร้สาย (5G & Wifi) Digital Signage และที่ชาร์ทรถยนต์ไฟฟ้า เป็นต้น

                       ดังนั้น เสา smart pole บนถนนหน้าบ้านจะเป็นแหล่งกระจายสัญญาณ 5G เพื่อให้เกิดโครงข่าย
                       ที่ครอบคลุม น าไปสู่การประยุกต์ใช้กล้องวงจรปิดแบบเวลาจริง (real-time) และทดสอบความหน่วง

                       เวลา  (latency)  ระหว่างยานยนต์บนท้องถนนที่พยายามจะเชื่อมสู่ระบบ  IoT  และการประมวลผล

                       ปัญญาประดิษฐ์ (AI)
                              นักวิจัยพบว่า  ผลการทดสอบ  พบว่าความเร็วในการดาวน์โหลดสัญญาณ  (1.3  กิกะบิตต่อ

                       วินาที) และความหน่วงเวลาที่ต ่า (172 มิลลิวินาที) เป็นไปตามที่คาดหมาย น าไปสู่การประยุกต์ใช้งาน

                                                                     ้
                       ต่างๆ ได้ เช่น การบังคับรถไร้คนขับจากระยะไกล เป็นตน และสรุปว่า โครงการนี้เป็นตัวอย่างในการ
                       สร้างโอกาสและช่องทางส าหรับการเกิดธุรกิจใหม่ของการให้บริการ  smart  pole  ส าหรับ  start-up

                       หรือ SME ระดับกลาง เพื่อส่งเสริมให้เกิด 5G coverage ที่ดีขึ้น อย่างไรก็ดี เนื่องจากข้อจ ากัดของ

                       ความถี่ 5G ในช่วง mmWave ที่มีระยะท าการไม่ไกล จึงต้องมีโครงสร้างพื้นฐานไว้รองรับ


                       •  โครงการที่ 11 การตรวจจับสภาพอากาศปิดที่เอื้อกับการเกิดมลพิษในอากาศจากสัญญาณ

                          สื่อสารไร้สาย

                              โครงการนี้  ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเกิดสภาพอากาศอุณหภูมิผกผัน(Temperature
                       Inversion,  TINV)  ซึ่งเป็นลักษณะสภาพอากาศที่เป็นปัจจัยส าคัญในการก่อให้เกิดอุบัติภัยด้านมลพิษ

                       ในอากาศ  (แต่ไม่ได้วัดปริมาณมลพิษโดยตรง)  และผลกระทบของสภาพอากาศ  TINV  นี้ต่อสัญญาณ

                       สื่อสารไร้สาย   โดยนักวิจัยพัฒนาระบบเซนเซอร์อากาศติดบัลลูนและโดรนแบบใหม่ที่สามารถวัด
                       สภาวะอากาศ  TINV  ได้  และน าโดรนติดเซนเซอร์ไปทดลองบินวัดการเกิดสภาพอากาศนี้  ในบริเวณ

                       กึ่งกลางระหว่างคู่เสาสัญญาณสื่อสารไร้สายแบบไมโครเวฟแบ็คฮอล์  (microwave  backhaul)  ของ

                       โครงข่ายบริการสัญญาณสื่อสารไร้สาย  2G,  3G,  4G  ของผู้ประกอบการ  เพื่อเก็บค่าความแรงในการ


                       [เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                              13

                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28