Page 26 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 26
โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G
จากการใช้ระบบคลาวด์สร้างโมเดลส าหรับการเรียนรู้จ าใบหน้า และการรับส่งข้อมูลที่ใช้ใน
การประมวลผลสัญญาณ 5G โดยใช้ระบบประมวลผลแบบคลาวด์จากส่วนกลางของศูนย์ทดสอบ 5G
ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งมีความเหมาะสม และช่วยประหยัดงบประมาณค่าใช้จ่ายในส่วนของ
ระบบคลาวด์ นักวิจัยพบว่า ทั้งระบบการส่งสัญญาณ 5G และระบบคลาวด์สามารถใช้งานได้จริง มีผล
การทดสอบที่ดี มีผลการทดสอบการสร้างคืนความละเอียดสูงยิ่งยวด ที่แสดงให้เห็นภาพมีความชัดเจน
เพิ่มมากขึ้น
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายในการยกระดับการให้บริการ 5G
คณะกรรมการมีความคิดเห็น ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อให้กสทช. น าไปศึกษาความ
เหมาะสมในการจัดท าเป็นนโยบายส าหรับการยกระดับการให้บริการ 5G ดังต่อไปนี้
• ควรมีการจัดท ามาตรฐานทางเทคนิค ส าหรับผู้ให้บริการโครงข่าย 5G ในประเทศไทย เพื่อ
คุ้มครองผู้บริโภค โดยเน้นคุณสมบัติ 3 ด้านหลักของโครงข่าย 5G อันได้แก่ eMBB --
ความเร็วในการส่งข้อมูลมัลติมีเดีย uRLLC -- ความหน่วงเวลา และ mMTC – ความสามารถ
ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์จ านวนมากในพื้นที่เดียวกัน เพื่อการให้บริการที่ครอบคลุมพื้นที่ทั่วทั้ง
ประเทศไทย
• การจัดท านโยบาย หรือแนวปฏิบัติส าหรับผู้ประกอบการขนาดต่างๆ เพื่อให้เกิด business
model ในการน า use cases มาให้บริการเชิงพาณิชย์ในอนาคต อาทิ
o smart farming การใช้เทคโนโลยี 5G ส าหรับการเกษตร
o smart transportation / seamless mobility for public transport การเชื่อมต่อ
ด้านการคมนาคม การเดินทางโดยรถสาธารณะ ที่มีข้อมูลการเดินทางที่แม่นย า และ
ถูกต้องให้แก่ประชาชน หรือการใช้เทคโนโลยี 5G ส าหรับรถยนต์เคลื่อนที่อัตโนมัติ
เพื่อความสะดวกสบายในการให้บริการ เป็นต้น
o smart cities การดูแลรักษาความปลอดภัยในเมืองหลัก เช่น กรุงเทพฯ
o digital healthcare / healthcare delivery การให้บริการด้านสุขภาพโดยใช้
เทคโนโลยีที่ทันสมัย อย่างครอบคลุมและทั่วถึงให้แก่ผู้ป่วย
o digital learning การเรียนการสอนแบบดิจิทัล ด้วยเทคโนโลยีโลกเสมือน
• การบังคับดูแลให้มีผู้ให้บริการโครงข่าย 5G ให้ครอบคลุมในประเทศไทยอย่างทั่วถึง เพื่อ
ประโยชน์ของผู้บริโภค
[เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑] 16
แบบ กทปส. ME-003