Page 20 - E-Book-Teerapong-รวมผลงานSandbox
P. 20

โครงการจัดตั้งและบริหารงานศูนย์ทดสอบ 5G







                       broadband) ของโครงข่าย 5G ดังนั้น นักวิจัยสรุปว่า เทคโนโลยี 5G จะยกระดับศักยภาพของหุ่นยนต์
                       บริการให้เหมาะสมมากขึ้นต่อการใช้งาน



                       •  โครงการที่ 6 5G-MegaSense และสัญญาณวิดิโอผ่านรถโดยสาร CU pop bus และเสา
                          อัจฉริยะ

                              โครงการนี้ศึกษาและพัฒนาระบบและอุปกรณ์ตรวจวัดมลพิษทางอากาศ      แบบเวลาจริงที่

                       สามารถปรับขนาดได้ ผ่านการแสดงผลบนระบบเก็บข้อมูลที่โครงการพัฒนาขึ้นเอง  เหมาะสมกับการ
                       ใช้งานในเมืองขนาดใหญ่ ที่อาศัยเทคโนโลยี Wifi/NB-IoT/4G/LTE/5G ทั้งนี้ อุปกรณ์ตรวจวัดคุณภาพ

                       อากาศ  (เซนเซอร์)  เชื่อมต่อกับแบตเตอรีและติดตั้งอยู่กับสถานีอยู่กับที่หรือสถานีถาวร  (fixed)  เพื่อ

                       ตรวจวัดคุณภาพอากาศจ านวน 15 สถานีในบริเวณจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
                              โครงการนี้ศึกษาผลของการแปลงเซนเซอร์ที่เป็นแบบ fixed IoT (ติดตั้งที่สถานีที่อยู่กับที่) ให้

                       เป็นแบบ  mobile  IoT  (ติดตั้งบนรถ  CU  pop  bus  จ านวน  2  คัน)  นอกจากนี้  เพื่อเป็นการเพิ่ม

                       มาตรการด้านความปลอดภัยและประสิทธิภาพการใช้งานของผู้โดยสาร CU pop bus ทางโครงการจึง
                                  ั้
                       ได้ท าการติดตงกล้อง  CCTV  ไว้บนรถโดยสาร  จ านวน  1  จุดด้วย  การส่งสัญญาณวิดิทัศน์จะเป็น
                       การศึกษาความสามารถในการรองรับการสื่อสาร  ผ่านคุณสมบัติ  eMBB  (enhanced  mobile

                       broadband) ของ 5G ผ่านโครงข่ายของผู้ให้บริการ True ที่ความถี่ 2.6 GHz อีกด้วย
                              นักวิจัยพบว่า  การเคลื่อนที่ของรถโดยสาร  CU  pop  bus  ไม่เป็นอุปสรรคต่อการส่งข้อมูล

                       ระหว่างเซนเซอร์ต่างๆ กับสถานีฐาน ด้วย NB-IoT ของผู้ให้บริการโครงข่ายไร้สาย เนื่องจากรถโดยสาร

                                                         ้
                       CU  pop  bus  เคลื่อนที่ด้วยความเร็วชาถึงปานกลาง  จึงไม่ก่อให้เกิดปัญหาของการ  handover
                       ระหว่างสถานีฐาน และยังพบอีกว่า การส่งขึ้น (upload) ข้อมูลสัญญาณวิดทัศน์ผ่านอุปกรณ์ที่มีการ
                                                                                      ิ
                                   ั้
                       เคลื่อนที่ (ติดตงบนรถ CU pop bus) ท างานได้เป็นปกติ
                              โดยสรุป  นักวิจัยโครงการนี้ได้สร้าง  platform  เพื่อรองรับการใช้งาน  IoT  (เซนเซอร์วัด
                       คุณภาพอากาศ) จ านวนมาก ซึ่งจะเป็นหนึ่งใน use case ส าคัญของการสื่อสารด้วยโครงข่าย 5G ใน

                       อนาคต



                       •  โครงการที่ 7 การพัฒนาการใช้เทคโนโลยีความจริงเสมือน ในพื้นที่มหาวิทยาลัยบนเครือข่าย
                          5G

                              โครงการนี้น าเทคโนโลยีโลกเสมือน (Virtual Reality, VR) มาประยุกต์ใช้เพื่อเป็นสื่อการสอน

                       รูปแบบใหม่ โดยจัดหาครุภัณฑ์เพื่อการวิจัยจ านวน 28 รายการ พร้อมทั้งศึกษาและจัดอบรมการสร้าง


                       [เลขที่สัญญารับทุน E.๖๒-๐-(๒)-๐๐๑]                                              10

                                                                                        แบบ กทปส. ME-003
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25