Page 73 - 1.ประวัติสาสตร์ชาติไทย ประถม สค.12024
P. 73

64





                                แม้ว่าล าน้ ายมจะเป็นล าน้ าที่มีความส าคัญต่อเมืองสุโขทัยและเมืองอื่น  ๆ

                  ที่ใกล้เคียง น่าจะเลือกเป็นที่ตั้งของเมือง แต่ผู้ที่สร้างชุมชนสมัยสุโขทัยก็ไม่ได้เลือกเช่นนั้น
                  เพราะเหตุผลว่า พื้นที่ลาดของภูเขาที่มีความสูงพอดีกับขอบอ่างที่เป็นที่ลุ่มแบบรูปพัดเชิงเขา


                  ได้ชัยภูมิที่เหมาะกว่าการที่จะไปตั้งเมืองอยู่ในอ่างที่เป็นที่ลุ่มต่ าท าให้น้ าท่วมถึงตลอดเวลา
                  จนเป็นทะเลหลวง

                                ในการเลือกที่ตั้งเมืองที่ห่างไกลจากล าน้ าเช่นนี้ไม่ได้เป็นอุปสรรคต่อการใช้

                  เส้นทางคมนาคมจากเมืองไปสู่เส้นทางสัญจรใหญ่ เพราะทางด้านตะวันออกของชุมชนมีล าน้ า

                  ล าพันไหลเลียบมาตามไหล่ตะพักของเขาประทักษ์ไปลงสู่ล าน้ ายม ที่สามารถใช้เป็นเส้นทาง

                  คมนาคมได้ดี และยังมีสายน้ าอื่นที่ไหลลงมากจากเทือกเขาต่างๆ ทางด้านทิศตะวันตก ผ่านที่

                  ราบซึ่งใช้เป็นที่การเกษตรไปสู่ล าน้ ายม ทั้งยังสามารถใช้เป็นเส้นทางสัญจรและขนส่งไปสู่ล าน้ า

                  ใหญ่ได้เช่นกัน

                                จากการเลือกที่ตั้งของเมืองสุโขทัยบนชั้นเชิงลาดของภูเขาที่มีฐานตัวเมืองเป็น

                  ดินภูเขาที่มีความแข็งและร่วนมาก ไม่สามารถกักเก็บน้ าไว้ใช้เพาะปลูกได้ เป็นเหตุอย่างหนึ่งที่

                  ท าให้แหล่งน้ าใต้ดินภายในบริเวณเมืองต่ ากว่า 5  เมตรจากผิวดิน นอกจากจะได้รับพัฒนาการ

                  น าน้ ามาใช้ด้วยวิธีอื่น  ได้แก่ การสร้างสรีดภงส์ (สรีดภงส์ อ่านว่า สะ-หรีด-พง เป็นค านาม

                  แปลว่า เขื่อน หรือ อ่างเก็บน้ า ท านบ) และฝายกั้นน้ าเพื่อใช้ในการเกษตรกรรม ส่วนพื้นที่สร้าง

                  เมืองหรือชุมชนเหมาะแก่การตั้งชุมชน เพราะเมืองสุโขทัยได้แยกเอาพื้นที่ท านา ท าไร่ ออกไป

                  อยู่ในส่วนอื่น จากที่ตั้งของเมืองซึ่งใช้เป็นศูนย์กลางของการปกครองและที่อยู่อาศัยตลอดจน

                  การประกอบกิจกรรมทางด้านการศาสนาและค้าขาย

                                ในสมัยสุโขทัยมีการเลือกท าเลที่ตั้งบ้านเรือน ที่อยู่อาศัย การเลือกภูมิประเทศ

                  จะอยู่ใกล้ล าน้ า สะท้อนให้เห็นว่าคนสุโขทัยมีแนวคิดเป็นอย่างเดียวกัน แสดงให้เห็นถึงภูมิรู้
                  ในเรื่องระบบชลประทานแบบเหมืองฝายซึ่งสร้างขึ้นเพื่อเป็นการป้องกันน้ าท่วม กั้นเก็บน้ าไว้ใช้


                  ในการเกษตร รวมทั้งเป็นแนวป้องกันภัยสงครามที่คุ้นเคยสืบต่อกันมานาน  จึงเกิดเป็น
                  ภูมิปัญญาในการบริหารจัดการสร้างบ้านแปงเมืองสมัยโบราณ จะตั้งอยู่ใกล้กับแหล่งน้ า เพื่อใช้

                  ในการอุปโภคบริโภคของชาวบ้านชาวเมือง แต่ขึ้นอยู่กับว่าแหล่งน้ านั้นเป็นแหล่งน้ าแบบใด

                                แหล่งน้ านิ่ง เช่น หนอง บึง ทะเลสาบ สระน้ า หรือ ตระพัง   (ตระพัง หมายถึง

                  แอ่ง บ่อ หนอง กระพัง ตระพัง หรือ สะพัง เรียกบ่อที่เกิดขึ้นเอง หรือสระน้ าที่ขุดลงไปใน

                  พื้นดิน) บาราย คือ สระน้ าที่มีคันดินล้อมรอบ

                                แหล่งน้ าไหล  หรือ อ่างเก็บน้ าที่สร้างขึ้น ประเภทล าน้ าหรือแม่น้ า
   68   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78