Page 75 - 1.ประวัติสาสตร์ชาติไทย ประถม สค.12024
P. 75

66





                  พบแนวคันดินเชื่อมต่อระหว่างเขากิ่วอ้ายมาและเขาพระบาทใหญ่ มีการขุดดินจากด้านใน

                  เพื่อน ามาปรับถมเป็นคันดินกั้นน้ า  รับน้ าจากเทือกเขาประทักษ์ เขาค่าย เขาเจดีย์งาม ที่เป็น
                  พื้นที่หลังคารับน้ า ไหลลงมาเป็นล าธาร หรือ โซก ต่างๆ  เช่น โซกพระร่วงลองพระขรรค์


                  โซกเรือตามอญ โซกอ้ายก่าย โซกน้ าดิบชะนาง โซกชมพู่ โซกพม่าฝนหอก
                                2.  สรีดภงส์ 2 (ท านบกั้นน้ าโคกมน) ตั้งอยู่ที่บ้านมนต์คีรี ห่างจากก าแพงเมือง

                  ด้านทิศใต้ไปตามแนวคันดินกั้นน้ า ประมาณ 7.6 กิโลเมตร จะไปบรรจบคันดินที่กันน้ าโคกมนที่

                  กั้นเขานายา ตรงกลางท านบเจาะขาดเป็นช่องระบาย กว้างประมาณ 3 - 4 เมตร เพื่อระบายน้ า

                  เป็นแนวโค้งโดยกั้นทางทิศตะวันออกเขานายาและเขากุดยายชี คันดินหายไปตรงบริเวณ

                  เหมืองยายอึ่ง

                                3. เหมืองยายอึ่ง เป็นล าธารขนาดใหญ่ รับน้ าจากล าธารเล็ก ๆ 12 สาย ที่ไหล

                  มาจากเทือกเขาโป่งสะเดา เขาคุยบุนนาคและเขาอีลม น้ าจากเหมืองยายอึ่งจะไหลเลียบล าธาร

                  เขาอ้อมออกไปในที่ราบลุ่มผ่านหน้าผาเขาแดง ซึ่งจากเขาแดงจะมีล าธารอีกสาย คือ น้ าโคก หรือ

                  บ่อน้ าผุด

                                4. ท่อปู่พระญาร่วง รับน้ าจากแม่น้ าปิง เข้ามาเลี้ยงทุ่งนา อ าเภอพรานกระต่าย

                  (จังหวัดก าแพงเพชร) และอ าเภอคีรีมาศ อ าเภอกงไกรลาศ (จังหวัดสุโขทัย)

                                5. น ้าโคก ปรากฏอยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่กล่าวว่า “เบื้องหัวนอน มีป่าม่วง

                  ป่าขาม มีน้ าโคก มีพระขพุงผี น้ าโคกหรือบ่อน้ าผุด ตั้งอยู่ถัดลงมาทางทิศใต้ของเหมืองยายอึ่ง

                  เป็นแหล่งน้ าที่ไหลมาจากใต้ดิน ท าให้เกิดล าธารไหลไปรวมกับเหมืองยายอึ่ง ก่อนไหลไปรวมกัน

                  ที่สรีดภงส์ 2 (ท านบกั้นน้ าโคกมน) เมื่อปริมาณน้ ามีมากเกินไป ทางหนึ่งจะระบายออกที่ปากท่อ

                  กลางท านบอีกทางหนึ่งจะไหลออกไปตามเหมืองยายอึ่ง ไปบรรจบกับท านบกั้นน้ า เพื่อใช้ใน

                  การเกษตรกรรมตามชุมชนริมถนนพระร่วง
                                6. ทรากน ้าตกที่เกิดจากเทือกเขาประทักษ์ ที่ส าคัญมี 2 แห่ง คือ


                                   6.1  โซกเป็ด (ธารน ้า) เป็นแหล่งต้นน้ าที่มีน้ าซึมผ่านทรายชื้นเปียกไปตาม
                  แนวล าธาร ทรายที่อยู่พื้นล าธารมีสีด าอมน้ าตาลคล้ายขี้เป็ดอยู่ทั่วไป อาจเกี่ยวกับที่มาของ

                  ชื่อแหล่งโดยชาวบ้านอาจเคยเรียกว่า โซกขี้เป็ด แล้วกร่อนเหลือเพียง โซกเป็ด น้ าจากโซกเป็ดนี้

                  จะไหลไปสู่ท านบกั้นน้ า แล้วระบายไหลออกไปรวมกับคลองยาง

                                  6.2 โซกขี เหล็ก (ธารน ้า) ตั้งอยู่ทางด้านใต้ของโซกเป็ด น้ าจากโซกขี้เหล็กจะ

                  ไหลไปหาท านบกั้นน้ า และไหลไปรวมกับเหมืองยายอึ่งต่อไป
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80