Page 77 - 1.ประวัติสาสตร์ชาติไทย ประถม สค.12024
P. 77

68





                  เรื่องที่ 2  การอยู่กับน้ าสมัยโบราณ





































                                สภาพทางภูมิศาสตร์และแหล่งที่ตั้งของสมัยสุโขทัยเป็นพื้นที่ลาดเอียงเพราะเป็น

                  พื้นที่เชิงเขาท าให้ไม่สามารถกักเก็บน้ าได้ตามธรรมชาติ จึงจ าเป็นต้องพัฒนาแหล่งกักเก็บน้ า

                  ไว้ใช้ในฤดูแล้งส าหรับการเกษตร อุปโภคบริโภค ผู้คนในสมัยสุโขทัยจึงได้สร้างอ่างกักเก็บน้ าขึ้น

                  โดยการสร้างท านบเชื่อมระหว่างเขาเพื่อกักเก็บน้ า เรียกตามจารึกว่า “สรีดภงส์” (เขื่อน หรือ

                  ท านบ) รวมทั้ง  “ตระพัง” (การขุดบ่อหรือสระ) ดังปรากฏในศิลาจารึกหลักที่ 1 “เบื้องหัวนอน
                  เมืองสุโขทัย มีกุฎิวิหารปู่ครูอยู่ มีสรีดภงส์ ป่ามะพร้าว ป่าล่าง มีป่ามะม่วง ป่าขาม มีน้ าโคก


                  มีพระขพุงผี เทพดาในเขาอันนั้น” หมายถึง เมืองสุโขทัยทางทิศใต้นั้นได้มีการสร้างท านบ
                  ที่เรียกว่า “สรีดภงส์” เพื่อบังคับน้ าจากคลองเสาหอให้ไหลไปทางท่อดินเผาขนาดต่างๆ ผ่าน

                  เข้าไปในก าแพงเมือง ไหลลงไปในตระพังขนาดใหญ่กลางเมืองสุโขทัย

                                การสร้างชลประทานของเมืองสุโขทัย เป็นประโยชน์ทั้งทางด้านเกษตรกรรม

                  และการคมนาคม เพราะชาวสุโขทัยใช้น้ าที่มาทางท่อของพระยาร่วงส าหรับการเกษตรจาก

                  เหมืองฝาย โดยไม่ต้องอาศัยน้ าฝนแต่เพียงอย่างเดียว รวมถึงประโยชน์ทางด้านอุปโภคและ

                  บริโภคภายในเมืองสุโขทัย เพราะชาวสุโขทัยจะขุด “ตระพัง” (การขุดบ่อหรือสระ) จ านวนมาก

                  ไว้กักเก็บน้ าไว้ใช้ในการด าเนินชีวิต ภูมิปัญญาทางด้านการบริหารจัดการน้ าท าให้เมืองสุโขทัย

                  มีน้ าใช้ตลอดปี ผืนแผ่นดินมีความสมบูรณ์ มีผลผลิตที่สามารถเลี้ยงชาวเมืองได้
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82