Page 16 - แผนพัฒนา กศน.
P. 16

ใหสอดคลองเชื่อมโยงกับสภาพความเปลี่ยนแปลงของสังคมในอนาคต ทั้งสังคมแหงการแขงขันที่ตองใชความรู

               เทคโนโลยีและนวัตกรรมเปนฐาน สังคมพอเพียงเพื่อสรางภูมิคุมกันและสังคมสิทธิมนุษยชน เปนสิทธิที่เด็กทุกคน
               ตองไดรับสิทธิพื้นฐานเสมอกัน ไมวาจะเด็กไทยหรือตางชาติ รวมถึงสิทธิในการใชภาษาทั้งภาษาไทยและภาษาถิ่น

               นอกจากนั้น การบริหารจัดการศึกษาตองคํานึงถึงในเรื่องของการปรับเปลี่ยนโครงสรางประชากรที่จะมีผูสูงอายุ

               เพิ่มมากขึ้น เด็กลดลง การอพยพถิ่นและเสริมสรางใหเด็กและเยาวชนมีจิตสํานึก คุณธรรม จริยธรรม มีทักษะการ
               เรียนรูนวัตกรรม ทักษะสารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ตลอดจนทักษะชีวิตและอาชีพ

               1.8 ทิศทางการพัฒนาประเทศตามยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2579)

               1) วิสัยทัศน
                              “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญา

               ของเศรษฐกิจพอเพียง”

                              เพื่อใหประเทศไทยสามารถยกระดับการพัฒนาใหบรรลุตามวิสัยทัศน “ประเทศไทยมีความมั่นคง
               มั่งคั่ง ยั่งยืน เปนประเทศพัฒนาแลว ดวยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และเปาหมาย

               การพัฒนาประเทศขางตน จึงจําเปนตองกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศระยะยาวที่จะทําใหประเทศไทยมี
               ความมั่นคงในเอกราชและอธิปไตย มีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลงจากปจจัยภายในและภายนอกประเทศในทุกมิติ

               ทุกรูปแบบและทุกระดับ ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการของประเทศไดรับการพัฒนายกระดับ

               ไปสูการใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการสรางมูลคาเพิ่ม และพัฒนากลไกที่สําคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม
               ที่จะสรางและเพิ่มศักยภาพในการแขงขันของประเทศ เพื่อยกระดับฐานรายไดของประชาชนในภาพรวมและ

               กระจายผลประโยชนไปสูภาคสวนตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม คนไทยไดรับการพัฒนาใหเปนคนดี เกง มีวินัย
               คํานึงถึงผลประโยชนสวนรวม และมีศักยภาพในการคิดวิเคราะห สามารถ “รู รับ ปรับใช” เทคโนโลยีใหมได

               อยางตอเนื่อง สามารถเขาถึงบริการพื้นฐาน ระบบสวัสดิการ และกระบวนการยุติธรรมไดอยางเทาเทียมกัน โดยไม

               มีใครถูกทิ้งไวขางหลัง
                              การพัฒนาประเทศในชวงระยะเวลาของยุทธศาสตรชาติ จะมุงเนนการสรางสมดุลระหวางการ

               พัฒนาความมั่นคง เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยการมีสวนรวมของทุกภาคสวนในรูปแบบ “ประชารัฐ”

               โดยประกอบดวย 6 ยุทธศาสตร ไดแก (1) ยุทธศาสตรชาติดานความมั่นคง (2) ยุทธศาสตรชาติดานการสราง
               ความสามารถในการแขงขัน (3) ยุทธศาสตรชาติดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพทรัพยากรมนุษย

               (4) ยุทธศาสตรชาติดานการสรางโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม (5) ยุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโต
               บนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และ (6) ยุทธศาสตรชาติดานการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร

               จัดการภาครัฐ







                                                                        แผนพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2560-2579 ของ สํานักงาน กศน.
                                                                                                               11
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21