Page 484 - Bright Spot 2563
P. 484
Success Story หรือ Bright Spot จากการขับเคลื่อนองค์กรแห่งความสุข
หน่วยงาน โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส
ประเด็น Success story หรือ Bright spot
“เชิดชูสถาบัน พฒนาการบริการสุขภาพ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตบุคลากรทุกระดับโปร่งใส
ั
ตรวจสอบได้”
บทสรุปผู้บริหาร
ในฐานะผู้บริหารเราเชื่อว่า การท าความดีทุกคนสามารถท าได้ไม่ยาก โดยเริ่มจากการสร้าง
ความรู้สึกที่ดีต่อตัวเอง ซึ่งความรู้สึกนี้จะสามารถส่งต่อให้คนรอบข้างได้เป็นอย่างดีท าให้ความดี
แผ่ขยาย ดังนั้นคณะท างานสร้างสุขจึงได้จัดกิจกรรมเพอให้บุคลากรสามารถท าความดีได้โดยไม่ต้อง
ื่
ั
ลงทุนภายใต้แนวคิด “ท าดี ท าได้” ควบคู่กับนโยบายผู้อานวยการ “เชิดชูสถาบัน พฒนาการบริการ
สุขภาพ ส่งเสริมคุณภาพชีวิตบุคลากรทุกระดับ โปร่งใสตรวจสอบได้” และขับเคลื่อนกิจกรรม
โรงพยาบาลคุณธรรม (ซื่อสัตย์ สามัคคี มีน้ าใจ) เปิดโอกาสให้บุคลากรทาความด อาทิเช่น กิจกรรม
ี
ู
จิตอาสาร่วมกับชุมชนที่จัดขึ้นในทุกเดือน มีเวทียกย่องบุคลากรที่สร้างผลงานเด่น มีการนั่งพดคุย
ผ่านกิจกรรม Focus group ในบุคลากรทุกระดับอย่างต่อเนื่อง ท าให้ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์
ี
ความทุกข์และความสุขซึ่งกันและกัน เกิดความคิดต่อยอดในการท าความดีจากอกคนสู่อกคน
ี
จากรุ่นสู่รุ่น
ปัจจัยแห่งความส าเร็จ
การด าเนินงานของโรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ได้เริ่มด าเนินการส ารวจความสุขของ
เจ้าหน้าที่ โดยใช้แบบประเมิน Happinometer ของกระทรวงสาธารณสุข แต่ยังไม่มีการน าผลของ
การประเมินมาวิเคราะห์เพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนา
หลังจากที่ได้น าเสนอผลการตอบแบบประเมินดังกล่าว ท าให้ผู้บริหารเล็งเห็นถึงความส าคัญ
(ผู้บริหารให้ความส าคัญ) จึงเริ่มมีการแต่งตั้งคณะท างานสร้างสุขของโรงพยาบาลนราธิวาสราช
นครินทร์และมีการด าเนินงาน วางแผน และจัดกิจกรรม โดยให้บุคลากรทุกระดับเข้ามามีส่วนร่วม
อย่างต่อเนื่อง เช่น กิจกรรม Focus group เพอการแก้ปัญหาที่ตรงจุด, การจัดท าบอร์ดความดี เป็นต้น
ื่
พวกเราในฐานะคณะท างานสร้างสุขมีความภูมิใจ ยินดี และพร้อมที่จะท าให้บุคลากรในโรงพยาบาล
นราธิวาสราชนครินทร์มีความสุขในการปฏิบัติงานในโรงพยาบาลแห่งนี้ สร้างแรงบันดาลใจให้
บุคลากรในองค์กรได้ท าความดีในทุกทุกวัน อย่างต่อเนื่องและแบ่งปันสู่คนรอบข้าง ครอบครัว ชุมชน
ต่อไป
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครินทร์ ประเมินความสุขของบุคลากร จากเครื่องมือแบบประเมิน
ความสุขบุคลากร กระทรวงสาธารณสุข (Happinometer) และน าผลการประเมินมาวิเคราะห์
และสร้างกิจกรรมต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เพอให้บุคลากรทุกระดับสามารถจัดการความสุขของตนเอง
ื่
และพัฒนาคุณภาพชีวิต เพื่อให้เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์กรแห่งความสุขต่อไป
470