Page 153 - Bright Spot 2562
P. 153
141
141
โครงการ Happy Body Healthy Organization สำานักสาธารณสุข
จังหวัดอ่างทอง
จากผลการสำารวจดัชนีความสุขของบุคลากรสาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง ปี 2562 พบว่า ภาพรวม
ำ
ความสุข คนทางานอยู่ในระดับมีความสุข ร้อยละ 64.70 แต่เมื่อเจาะลึกรายมิติกลับพบว่า มิติที่มีคะแนน
ำ
ต่าได้แก่ มิติด้านสุขภาพการเงินดี ร้อยละ 54.21 มิติด้านผ่อนคลายดี ร้อยละ 54.61 และยังพบว่ามากกว่า
ำ
ครึ่งของบุคลากร สาธารณสุขจังหวัดอ่างทอง มีภาวะอ้วนและอ้วนลงพุง สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
อ่างทอง ได้จัดทำาโครงการองค์การ สุขภาพดี (Happy body Healthy Organization) เพื่อส่งเสริม
ให้บุคลากรมีสุขภาพที่แข็งแรง มีความสุขในการ ทำางาน โดยผู้บริหารเป็นผู้นำาและแบบอย่างในการ
ดำาเนินการ ตามองค์ประกอบของ Healthy Organization คือ 1. Healthy Policy 2. Healthy Work
shop 3. Healthy Canteen 4. Healthy Meeting 5. Healthy Space และ 6. Healthy
Tournament ซึ่งมีหลักการดาเนินงาน TCOR ดังนี้
ำ
1 Team: แต่งตั้งคณะกรรมการในการขับเคลื่อนดาเนินงาน และทีมงาน รวมทั้งกาหนดบทบาทหน้าที่
ำ
ำ
ำ
2. Clarity: ประกาศนโยบายส่งเสริมสนับสนุนการทางาน ข้อตกลงและเป้าหมายของหน่วยงานร่วมกัน
ำ
ำ
3. Over Communication: ประชุมชี้แจงแนวทางการดาเนินงาน จัดทาช่องทางการติดตามและ
รายงานผลทาง GroupLine:Healthy Orga และสนับสนุนความรู้ทางวิชาการ หลายๆวิธีการ เช่น ป้าย
ประชาสัมพันธ์ เสียงตามสาย และ VDO Clip เป็นต้น
4. Reinforce: ส่งเสริมกิจกรรมทางกาย โดยลดพฤติกรรมเนื่อยนิ่ง เวลา 10.00 น. และเวลา
14.00 น.ทุกวัน วันละ 15 นาที จัดหาพื้นที่ สนับสนุนอุปกรณ์และจัดกิจกรรมในการออกกำาลังกาย เช่น
แอโรบิค โยคะ ปิงปอง เป็นต้น รวมทั้งจัดเมนูชูสุขภาพเป็นทางเลือกในการส่งเสริมการบริโภคทุกวันพุธ
โดยมีประเมินผลของค่าดัชนีมวลกาย 3 เดือนต่อครั้ง และประเมินตนเองในเรื่อง 3อ 2ส พบว่า มีบุคคล
ำ
ต้นแบบ “หุ่นสวยด้วยตัวเรา” จานวน 21 คน น้าหนักโดยรวมลดลงจากเดิม 113.4 กิโลกรัม บุคลากรมีค่า
ำ
ดัชนี มวลกายปกติ เพิ่มจากเดิมร้อยละ 10 และพฤติกรรมสุขภาพ 3อ. 2ส. ในระดับดีเพิ่มมากขึ้น
ำ
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
ำ
ผู้บริหารให้ความสาคัญและสนับสนุนการดาเนินงาน รวมทั้งปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง การมีส่วน
ำ
ร่วมของบุคลากรในการทำากิจกรรมตามกติกาข้อตกลงร่วมของหน่วยงานทำาให้ทุกคนมีความคิดและทำา
กิจกรรมต่างๆ โดยถือว่าเป็นเรื่องสุขภาพของตนเอง
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา
1. การสร้างแรงจูงใจและการกระตุ้นเตือนอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การทำากิจกรรมในการส่งเสริมให้
เจ้าหน้าที่มี การดูแลสุขภาพตนเองเพื่อมีค่าดัชนีมวลกายปกติ
2. การสร้างความสุขแก่บุคลากรต้องได้รับความร่วมมือจากบุคลากร ดังนั้นจะต้องกระบวนการใน
การสร้าง การมีส่วนร่วมในการทำางาน ตั้งแต่การค้นหาปัญหา กำาหนดเป้าหมายและวิธีการดำาเนินงาน
รวมทั้งการประเมินผล โดย ต้องมีวิธีสร้างแรงจูงใจในการดำาเนินงานร่วมกัน