Page 62 - Bright Spot 2562
P. 62
50
50
HPC9 “สุข-สร้าง-ได้”บ้านแห่งความรัก ความสุข และความผูกพัน
ำ
จากการกาหนดเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข ที่มุ่งเน้นให้ประชาชนสุขภาพดี
เจ้าหน้าที่มีความสุข ระบบ สุขภาพยั่งยืน และเป้าหมายกรมอนามัยที่จะขับเคลื่อนการ
ำ
ดาเนินงานด้านความสร้างสุข ความผูกพันสู่การบรรลุผลการ ประเมิน Happinometer
ซึ่งพื้นฐานของมนุษย์ทุกคนมีความต้องการความรัก ความอบอุ่น และการยอมรับจาก
ำ
ำ
สังคม ดังนั้น ศูนย์อนามัยที่ 9 จึงให้ความสาคัญในการดาเนินงานตามนโยบายเสริมสร้าง
ำ
ำ
ความผูกพันของบุคลากร โดยน้อมนาพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ
“เข้าใจ-เข้าถึง-พัฒนา” มาเป็นแนวทางในการสร้างความสุข และ ความผูกพันในองค์กร
ื
ื
ั
ึ
ี
ซ่งการกำาหนดกิจกรรมต่างๆในหน่วยงานเพ่อขับเคล่อนจึงเป็นหน้าท่ของทุกคนรวมท้ง
ผู้บริหารทุกระดับ กระบวนการแรกเริ่มดาเนินการที่การสร้างความ “เข้าใจ” ในความ
ำ
ต้องการของบุคลากร และทบทวนจุดอ่อนที่ ต้องพัฒนาจากการวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัย
ำ
7 ด้าน (31 คาถาม) ในปีที่ผ่านมาเป็นตัวช่วยสะท้อนให้เรารู้ว่าการดาเนินงานในเรื่อง
ำ
ไหนที่เราทำาได้ดีและเรื่องไหนที่ยังคงเป็นปัญหาที่ต้องพัฒนา ทำาให้สามารถตัดสินใจได้
ำ
ว่าเราควรจะทาเรื่องใด ก่อน-หลัง ผู้อานวยการศูนย์อนามัยที่ 9 ได้ชี้แจงนโยบายระดับ
ำ
ำ
กระทรวง กรมอนามัย และให้แนวทาง 3 อย่างเป็นสิ่งยึด ในการดาเนินชีวิต คือ “ซื่อสัตย์
รับผิดชอบ ไม่เห็นแก่ตัว” มีนโยบายกิจกรรม “หิ้วปิ่นโต กินข้าวร่วมกัน สำาราญใจ”
เป็นประจาทุกเดือนเพื่อรักษ์สิ่งแวดล้อม ลดการใช้พลาสติกและสร้างโอกาสให้เจ้าหน้าที่
ำ
ได้มาพบปะสังสรรค์ พูดคุยนอก เวลางาน รวมทั้งสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนรองรับตาม
ำ
แนวคิดองค์กรสร้างสุข 9 ประการที่ดาเนินการมาอย่างต่อเนื่อง ในปี 2559-2561 เพิ่ม
กิจกรรมให้มากขึ้นในปี 2562 เกิดนโยบายเสริมสร้างความผูกพันของบุคลากรในองค์กร
โดยกาหนดมาตรการสาคัญ 7 ข้อ คือ 1) ทีมผู้บริหารเป็นต้นแบบที่ดี เปิดโอกาสให้
ำ
ำ
บุคลากรมีส่วนร่วม 2) ส่งเสริมการ พัฒนาองค์กรและพัฒนาศักยภาพบุคลากร 3) ส่งเสริม
การสร้างบรรยากาศสถานที่ทำางาน 4) ปรับปรุงการสื่อสารและ ถ่ายทอดทิศทางของ
องค์กร 5) สร้างความตระหนักและปลูกจิตสานึกในบุคลากร 6) ส่งเสริมความสัมพันธ์และ
ำ
ความสามัคคีในบุคลากร 7) เสริมสร้างความสมดุลระหว่างชีวิตกับงานและเสริมแรงจูงใจ
ในการปฏิบัติการ ทั้งหมดที่กล่าวมาได้ คานึงถึงเหมาะสมสอดคล้องกับวัฒนธรรมองค์กร
ำ
ของเราเอง กระบวนการต่อมาคณะกรรมการ HR ดำาเนินการเข้าถึง” บุคลากรทุกระดับ
ด้วยการสื่อสาร (Commนnication) และการบริหารความต้องการของบุคลากรแบบมี
ส่วนร่วม (Participate) เริ่มจากสร้างความตระหนักให้กับบุคลากรทุกคน