Page 6 - 96592bac17e59a8ee6705a569be30fa2
P. 6
ยุทธศาสตร์ องค์ความรู้
ี
เพิ่มขดความสามารถในการ การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ SMEs ได้แก่ การเตรียมความพร้อม
แข่งขันของผู้ประกอบการ ผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มศักยภาพในด้านต่างๆ เช่น การท าการตลาด ผลิตภัณฑ์
การเงิน เป็นต้น
ี
เพิ่มประสิทธิภาพด้านการ การใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมประสิทธิภาพ ได้แก่ ความรู้
บริหารจัดการ IT เกี่ยวกับการใช้งานระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้เต็มประสิทธิภาพ
พัฒนาองค์กรสู่ความเป็นเลิศ กระบวนการองค์กรคุณภาพ ได้แก่ กระบวนการประเมินคุณภาพองค์กร การ
วิเคราะห์สินเชื่อ การบริหารความเสี่ยง การก ากับการปฏิบัติงาน การบริหารหนี้
กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ
จากผลการทบทวนผลการด าเนินงาน และการประเมินตนเองด้านการจัดการความรู้โดย
คณะท างานคัดกรองความรู้ ส าหรับโครงการจัดท าแผนแม่บทและการจัดการความรู้ของธสน. เห็นว่าการ
ด าเนินงานตามแผนแม่บทการจัดการความรู้ฯ ที่ผ่านมาแสดงให้เห็นแนวโน้มที่ดีขึ้นในเกือบทุกด้านของหัวข้อ
การประเมิน อย่างไรก็ตาม จากการประเมินความแตกต่างระหว่างระบบประเมินผลปัจจุบันและระบบใหม่
ั
เห็นว่า ยุทธศาสตร์ในการพฒนาธสน. ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ตามแผนแม่บทปี 2562-2566 ที่ก าหนดไว้
ื้
3 ยุทธศาสตร์ ได้แก่ ยุทธศาสตร์ที่ 1 เสริมสร้างพนฐานการจัดการองค์ความรู้ของธสน. ยุทธศาสตร์ที่ 2
พัฒนาธสน. ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้เพื่อมุ่งสู่องค์กรนวัตกรรม และยุทธศาสตร์ที่ 3 ใช้ประโยชน์จากระบบ
ั
ื่
เทคโนโลยีสารสนเทศเพอสนับสนุนการจัดการองค์ความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ เป็นยุทธศาสตร์เพอการพฒนา
ื่
กระบวนการตามเกณฑ์การประเมินเดิม
ดังนั้น เพอให้ยุทธศาสตร์การจัดการความรู้สอดคล้องกับระบบประเมินผลใหม่ เห็นสมควรก าหนด
ื่
ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ยุทธศาสตร์ที่ 1 การก าหนดทิศทางและเป้าหมายการจัดการความรู้ (KM Strategy)
ยุทธศาสตร์ที่ 2 การจัดท าแผนงานและแนวทางการจัดการความรู้ (KM Planning)
ยุทธศาสตร์ที่ 3 การส่งเสริมวัฒนธรรมด้านการจัดการความรู้ (KM Culture)
ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนากระบวนการจัดการความรู้ (KM Process)
ยุทธศาสตร์ที่ 5 การพัฒนากระบวนการปฏิบัติงาน (KM in Work Process)
4 | ห น้ า