Page 213 - Advande_Management_Ebook
P. 213

พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ                              211



             ประสานการตีพิมพ์ไว้ให้ครบถ้วนที่ส�าคัญ อีกประเด็นหนึ่งคือการอ่านระเบียบคู่มือ
             การท�างานวิจัยของมหาวิทยาลัยที่ก�าหนดโครงสร้าง ของทั้ง 5 บท และระเบียบการ

             ปฏิบัติในการยื่นเอกสารค�าร้องต่างๆตลอดจน เนื้อหา ที่จะต้องบรรจุแม้กระทั่งรูป
             แบบของฟอนต์ และหัวข้อ แต่ละหัวข้อต้องตรงตามเจตนารมณ์ของมหาวิทยาลัย
             แต่ละแห่งให้ครบถ้วนและต้องเข้าใจให้ชัดเจน เพราะนี้คือ อัตลักษณ์ของ

             มหาวิทยาลัยแต่ละแห่งที่แตกต่างกัน และส่วนในบทที่ 3 นั้นคือเครื่องมือ ที่ปรากฏ
             ในงานวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ จะต้องบรรจุ เครื่องมือวิจัยลงในบทที่ 3 ของ

             นักศึกษา ที่เอามาใช้ ตามเนื้อหา ที่สนใจในการศึกษา จากเครื่องมือชิ้นใดชิ้นหนึ่ง และ
            การสร้างเครื่องมือให้ครบถ้วน ในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพหากเป็นการศึกษาใน
            แบบผสมผสาน (Mix Reseach) จึงจ�าเป็นจะต้องดูตัวอย่างหรือตัวแบบของนักศึกษา

            รุ่นพี่ ที่ มีรูปแบบ ชัดเจนและเข้าใจง่ายเป็นหลัก จะเห็นโครงสร้างของการใช้เครื่อง
            มืออย่างเป็นสัดส่วนและสอดรับกับงานวิจัยในหัวข้อและประเด็นที่นักศึกษาสนใจ

            อย่างแท้จริง เครื่องมือดังกล่าวจะสามารถอธิบายผล ที่นักศึกษาได้ศึกษาจากการ ลง
            ไปใช้เครื่องมือแต่ละชิ้นดังกล่าว จึงจะท�าให้นักศึกษาสามารถที่จะเขียน ชื่อเรื่องของ
            งานวิจัยได้อย่างครบถ้วน ในทั้ง 3 บท สิ่งที่ส�าคัญที่สุดคือการก�าหนดหัวข้อเรื่อง

             จ�าเป็นจะต้องพบอาจารย์ที่ปรึกษาบ่อยๆ ในร่าง 3 บทและท�าความเข้าใจในเนื้อหา
             ที่มาในหัวข้อแนวคิดทฤษฎีและการสร้างกรอบความคิดส�าคัญคือการนิยามศัพท์  จะ

             เกิดขึ้นจากการทบทวนวรรณกรรมในบทที่ 2 และการสร้างเครื่องมือในการวิจัยจาก
             สถิติที่ใช้กับตัวแปร และในการศึกษาส�าคัญคือการสอบ 3 บทนี้เพื่อแค่เพียงเป็นทาง
             ผ่านของชื่อเรื่องวิจัยเท่านั้น จ�าเป็นจะต้องมาปรับแก้หลังจากสอบเสร็จแล้วและศึกษา

             เพิ่มเติมอีกหลายครั้งหลายหน ตามเวลาที่คณะกรรมการสอบจะก�าหนด



             2)กำรสอบป้องกัน วิทยำนิพนธ์ของนักศึกษำ (5บท)


                    หลังจากการปรับแก้ไข 3 บทส่งให้คณะกรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษาครบ
             ถ้วนตามระยะเวลาดังกล่าว สิ่งที่ส�าคัญต่อมาคือจะต้องน�ามาปรับแก้ไขจากการบันทึก
             เทป หรือการจดจ�าที่ส�าคัญ ในแต่ละประเด็น และท�าความเข้าใจให้ครบถ้วนถึง

             ประเด็นที่จะต้องแก้ไขและค�าแนะน�าต่างๆของคณะกรรมการที่สอบ จากนั้นแล้วจะ
             ต้องทดสอบ เครื่องมือที่ใช้ให้เกิดความแม่นย�า เที่ยงตรง ถูกต้องตามหลักวิชาการ
   208   209   210   211   212   213   214   215   216   217   218