Page 211 - Advande_Management_Ebook
P. 211

พลต�ารวจตรี ดร.สุพิศาล ภักดีนฤนาถ                              209


             กระบวนกำรในกำรท�ำวิจัย (Research Processing)


                    นักศึกษาหรือผู้วิจัยจะต้องเข้าใจถึง ปัจจัยส�าคัญที่จะน�ามาสร้าง กรอบความ
             คิด ในงานวิจัยเพื่อสร้างตัวแปรอิสระและตัวแปรตาม ตลอดจนการจะตกผลึกหรือ

             วิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว จากงานวิจัยอื่นๆ และการทบทวนวรรณกรรมจากภาคทฤษฎี
             นักศึกษาจะต้องยึดเนื้อหา วิชาการจัดการเป็นหลัก และการสังเคราะห์ วิเคราะห์
             เนื้อหา สกัดเอาแก่นของปัจจัยหรือประเด็นที่ต้องการศึกษาวิจัยออกมา จากบทความ

             งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ให้ออกมาในรูปแบบของ นักศึกษาเอง (ย�้าในรูปแบบของ
             นักศึกษาเอง)โดยตกผลึก ประเด็นหรือปัจจัยดังกล่าว มาใช้ในงานวิจัยของนักศึกษา

            นั้นคือพื้นฐานของความเข้าใจในการทบทวนวรรณกรรมจากบทที่ 2 ซึ่งนักศึกษาทุก
            คนจะต้องรวบรวมให้ตรงกับชื่อเรื่องของงานวิจัย ในการเรียนรู้ การจัดการขั้นสูง ใน
            หนังสือเล่มนี้จึงมีวัตถุประสงค์ที่ส�าคัญคือการเลือกหยิบเอาเครื่องมือการจัดการชิ้น

            ใดชิ้นหนึ่งมาใช้ในงานวิจัยได้อย่างสมบูรณ์ ผู้เขียนขอเริ่มจากกระบวนการที่น�าเสนอ
            จะแยกเป็น 2 ช่วงส�าคัญคือ 1) การเสนอหัวข้อเรื่องของงานวิจัย และ 2) การสอบ

            ป้องกัน วิทยานิพนธ์ของนักศึกษา และพบว่า มีช่วงของตารางเวลา (Timeline) เป็น
            ส่วนเกี่ยวข้องกับการจัดการ ในกระบวนการท�างานวิจัย โดยเริ่มจาก



             1) กำรเสนอหัวข้อเรื่องของงำนวิจัย (3บท)


                    การรวบรวมเนื้อหาจากสหวิชาการ ที่ นักศึกษาได้เรียนรู้ จากการศึกษาใน
             ห้องเรียนในวิชาหลักทั้งหมดและเน้นในเนื้อหาของการจัดการเป็นหลัก หลังจากนั้น
             แล้วก็ก�าหนด ตารางเวลา เพื่อควบคุมเวลาในการก�าหนดงานวิจัยในขั้นสุดท้ายก่อน

             จบการศึกษา ค้นหาหัวข้อและจุดสนใจที่นักศึกษามีความเข้าใจในปรากฏการณ์จริง
             หรือเนื้อหาของ ความลุ่มหลงในประเด็นที่สงสัย เพื่อน�ามาเขียนลงในบทที่1 จากใน

             ระดับ มหภาค หรือประเด็นเจาะจงลงไป ก็ตาม อันเป็นจุดสนใจ ที่นักศึกษามีความ
             เข้าใจ และ เบื้องต้นต้องตั้งค�าถามวิจัยเป็นอันดับแรก ในข้อสงสัยดังกล่าว จึงค้นหา
             สิ่งที่สงสัยต้องไม่มีค�าตอบอยู่ก่อนแล้ว จากนั้นจึงเริ่มในการค้นหาและรวบรวม

             ปรากฏการณ์ดังกล่าว ให้ชัดเจนตั้งแต่ระดับมหภาค (นานาชาติ) จนสู่เข้าประเทศไทย
             และองค์กรของงานศึกษาดังกล่าว หลังจากนั้นแล้ว จึงน�าเอาเนื้อหานั้นเขียนลงโดย

             มีการเขียนอ้างอึงอย่างเป็นระบบ น�ามาเขียนเป็นบทที่ 1 ตามหัวข้อของ มหาวิทยาลัย
   206   207   208   209   210   211   212   213   214   215   216