Page 15 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 15
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา 1
บทที่ 1
บทน า
อุตสาหกรรมยาในประเทศที่พัฒนาแล้วกับอุตสาหกรรมยาในประเทศไทยมีความแตกต่างกัน ในด้านการ
พัฒนาและการวิจัย ประเทศพัฒนาแล้วมีศกยภาพในการสร้างนวัตกรรมซึ่งเป็นการกีดกันทางเทคโนโลยีต่อการร่วม
ั
ลงทุนของต่างประเทศ ขณะที่ประเทศไทยยังมีศักยภาพในการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมน้อยจึงน าเข้ายาสามัญเป็น
ส่วนใหญ่ ด้านการลงทุน ประเทศพัฒนาแล้วมีการลงทุนในอุตสาหกรรมด้วยเครื่องจักรที่ทันสมัย และลงทุนในการ
วิจัยและพัฒนาซึ่งมีความเสี่ยงสูงแต่ผลตอบแทนก็สูงเช่นกัน ประเทศไทยก็มีการลงทุนด้วยเครื่องจักรเช่นกันแต่ยังไม่
ทันสมัยพอ ด้านการตลาด ประเทศพัฒนาแล้วมุ่งแข่งขันนวัตกรรมและการตลาดทั่วโลก ขณะที่ประเทศไทยยังคง
แข่งขันในเรื่องราคา การตลาดมุ่งเน้นภายในประเทศมีการส่งออกในประเทศอาเซียนเพียงร้อยละ 6 และด้าน
กฎหมาย ทั้งประเทศที่พัฒนาแล้วและประเทศไทยคือการได้รับอนุญาตขึ้นทะเบียนยาและกฎหมายสิทธิบัตร ดัง
แสดงในภาพที่ 1
ี่
ภาพที่ 1 แสดงลักษณะของอตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศไทยและประเทศทพัฒนาแล้ว
ุ
ช่องทางที่ส าคัญต่อการพัฒนาประเทศคือการพัฒนาด้านสังคม ด้านเทคโนโลยีและด้านเศรษฐกิจ แต่
อุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศปัจจุบันมีเพียงร้อยละ 20 ที่คาดว่าน่าจะมีศักยภาพในการสร้างนวัตกรรม ในขณะที่
1
ส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เป็นอุตสาหกรรมที่มีมูลค่าการผลิต ต ่ากว่า 500 ล้านบาท การวิจัยและพัฒนายา ที่ผ่านมา
เป็นกระบวนการที่ตองใชเงินลงทุนสูง ส่วนใหญ่จะเป็นหน่วยงานของรัฐ/รัฐวิสาหกิจ เป็นผู้ด าเนินการ ผู้ผลิตยาใน
1 ข้อมูลจากส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา พ.ศ. 2556 - 2558