Page 17 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 17
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา 3
แยกจาก การก ากับดูแลด้านสิทธิบัตรที่มีกรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ เป็นหน่วยงานหลัก และการ
พิจารณาขึ้นทะเบียนยาใช้หลักประสิทธิภาพและความปลอดภัยของยา ไม่เกี่ยวข้องกับสถานะสิทธิบัตรยา หากไทย
เข้าร่วมเป็นสมาชิกใน CPTPP น่าจะส่งผลให้ประเทศไทยต้องจัดให้มีระบบการแจ้งเตือนกับผู้ทรงสิทธิบัตร เมื่อมียา
3
สามัญมาขึ้นทะเบียนยา ซึ่งอาจจะท าให้ยาชื่อสามัญที่อุตสาหกรรมยาในประเทศผลิตเข้าสู่ตลาดล่าช้า
เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงยาจ าเป็นที่มีคณภาพอย่างทั่วถึง ใช้ยาสมเหตุผล ประเทศมีความมั่นคงด้านยา อย่าง
ุ
ั
ยั่งยืนตามวิสัยทัศน์ใน (ร่าง) นโยบายแห่งชาติด้านยาและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ฉบับปัจจุบัน พนธ
ิ่
กิจหลักที่ต้องด าเนินการ ได้แก่ การส่งเสริมอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศเพื่อความมั่นคงทางยา และเพม
ความสามารถในการแข่งขันไปสู่ระดับสากล รวมทั้งการสร้างมาตรการส่งเสริมสมดุลระหว่างการเข้าถึงยากับการ
คุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา ป้องกันและลดผลกระทบจากความตกลงการค้าระหว่างประเทศ เป้าหมายที่ระบุใน
ตัวชี้วัดแผนยุทธศาสตร์ (Strategic KPI) อุตสาหกรรมในประเทศมีศักยภาพในการวิจัยพัฒนาและผลิตยาที่มี
ความส าคัญ ต่อความมั่นคงและการส่งออก ก าหนดให้มี จ านวนรายการยากลุ่มเป้าหมาย ที่สามารถผลิตและ
4
จ าหน่ายได้อย่างต่อเนื่องในประเทศอย่างน้อยปีละ 10 รายการ โดยเป็นเจตนารมณ์ร่วมกันของรัฐบาล กรรมการ
พัฒนาระบบยาแห่งชาติ รัฐมนตรีของกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงการคลัง กระทรวง
5
พาณิชย์
ประเทศก าลังพัฒนาจะมีงานวิจัยจากภาคเอกชนในปริมาณน้อย ขณะที่ในประเทศที่พัฒนาแล้ว การพฒนา
ั
เทคโนโลยีเริ่มต้มที่ระดับมหาวิทยาลัย ถ่ายทอดไปยังภาคเอกชน แต่การพัฒนาเทคโนโลยีในประเทศก าลังพัฒนา
ส่วนใหญ่การสนับสนุนการวิจัยเป็นการวิจัยขั้นต้น โดยจะได้รับเงินทุนสนับสนุนจากภาครัฐบาล เช่น ประเทศจีนและ
6
ิ
ประเทศอนเดีย การถ่ายทอดเทคโนโลยีในประเทศเกิดขึ้นน้อยมาก ประเทศก าลังพัฒนาจึงควรจะต้องเร่งการ
3 Impact on Access to Medicines from TRIPS-PLUS: A CASE STUDY OF THAI-US FTA. Nusaraporn Kessomboon,
Jiraporn Limpananont, Vidhaya Kulsomboon, Usawadee Maleewong, Achara Eksaengsri and Prinya Paothong.
Southeast Asian J Trop Med Public Health 2010; Vol 41(3).p 667-677.
4 เกณฑ์การล าดับความส าคัญรายการยากลุ่มเป้าหมาย ผลิตภัณฑ์เป้าหมายทั้งยาเคมี ยาชีววัตถุ และสมุนไพร มีดังนี้ 1) เป็นยาที่มี
มูลค่าสูง (มูลค่าน าเข้าสูง/มูลค่ารวมสูง) หรือ 2) เป็นยาจ าเป็นที่มีความมั่นคงด้านยาต ่า (ผลิตเองไม่ได้หรือได้น้อยมาก/ยาที่มี
แนวโน้มขาดแคลน) หรือ 3) เป็นยาจ าเป็นที่มีความส าคัญแต่มีผลกระทบต่องบประมาณสูง หรือ 4) เป็นยาที่สร้างเสริมเศรษฐกิจของ
ประเทศ ผ่านการจ้างงาน การพัฒนาคน และสนับสนุนอุตสาหกรรมผู้ค้าที่เกี่ยวข้อง หรือเป็นยาที่ผลิตเพื่อการส่งออก หรือ 5) เป็น
ยาที่วิจัยพัฒนาในประเทศหรืออยู่ในแผนวิจัยพัฒนาเพื่อผลิตในประเทศ หรือ 6) เป็นยาพัฒนาจากสมุนไพรที่วิจัยพัฒนายาใน
ประเทศและมีศักยภาพในการพัฒนาสูตรต ารับยา
5 ส านักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (ร่าง) นโยบายแห่งชาติด้านยาและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบยาแห่งชาติ พ.ศ. ...
เอกสารได้รับส่วนบุคคลจากหน่วยงาน.
6 Barton John H, New trends in technology transfer – Implications for national and international policy, Issue
Paper No. 18, International Centre for Trade and Sustainable Development: 8,
http://www.iprsonline.org/resources/ docs/Barton%20-%20New%20Trends% 20 Technology%
20Transfer%200207.pdf (11 May 2007).