Page 18 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 18

Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry
            4
                 development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP


               พัฒนาเทคโนโลยีในระดับมหาวิทยาลัย เปิดโอกาสให้ภาคเอกชนสามารถด าเนินการได้ สนับสนุนการถ่ายโอน

                                                                   7
               เทคโนโลยีภายในด้วยการร่วมมือระหว่างภาครัฐบาลและเอกชน
                       รูปแบบการพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยีสามารถเกิดขึ้นได้ในหลายช่องทางต่อไปนี้

                          1)  จากสถาบันวิจัยของรัฐบาลสู่ภาคเอกชน

                          2)  ระหว่างองค์กรเอกชนภายในประเทศเดียวกัน
                          3)  ระหว่างองค์กรเอกชนระหว่างประเทศ

                          4)  จากภาคการศึกษาสู่ภาคเอกชน

                          5)  ความร่วมมอระหว่างภาคการศึกษา รัฐบาลและภาคอุตสาหกรรม
                                       ื
                       การพัฒนาเทคโนโลยีนั้นเป็นความท้าทายอย่างมากในวงการเภสัชกรรมเพราะมีมลค่าและความเสี่ยงสูง ใน
                                                                                         ู
               บางครั้งการผลิตยาขึ้นมาหนึ่งชนิดจะต้องใช้เวลากว่า 8 - 10 ปีและต้องสูญเสียเม็ดเงินมูลค่ากว่า 1 พันล้านดอลลาร์

               ก่อนที่จะน าออกมาสู่ตลาดได้ นอกจากนี้ยังมีโมเลกุลเพียงเล็กน้อยจากหลายพันโมเลกุลที่ผ่านการวิจัยและตรวจสอบ
                                                                                            8
               คุณภาพและประสิทธิภาพอย่างถูกต้องและได้รับการอนุญาตจากภาครัฐบาลในการจัดจ าหน่าย
                       ค าถามที่ส าคัญคือ มาตรการด้านนโยบายที่มีความสอดคล้องอย่างเป็นรูปธรรม ส่งเสริมศักยภาพทาง

               เทคโนโลยีของอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ และ เพิ่มการเข้าถึงยาของประเทศควรเป็นอย่างไร
                       การประเมินผลกระทบในครั้งนี้เป็นการประเมินผลกระทบจากนโยบายต่ออุตสาหกรรมการผลิตยาใน

               ประเทศ และเสนอแนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศ ตั้งแต่การสนับสนุนการลงทุน การ

               ส่งเสริมการพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต (กระบวนการท าการวิจัยและพัฒนาวัตถุดิบตัวยาส าคัญ ไปจนถึงการผลิตยา
               ส าเร็จรูป) โดยมีเป้าหมายเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมการผลิตยาในประเทศ สามารถ

               พึ่งตนเองด้านยา ให้มียาจ าเป็นใช้ และน าไปสู่ความมั่นคงด้านยาของไทย


               วัตถุประสงค์ ในการประเมินฯ เป็น 4 ข้อ ได้แก  ่

                          1.  เพื่อวิเคราะห์ช่องว่างทางนโยบายที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ

                          2.  เพื่อประเมินความพร้อมด้านเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ (Technology

                              readiness assessment)
                          3.  เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบจากนโยบายต่อการเพิ่มความพร้อมด้านเทคโนโลยีฯ และค่าใช้จ่ายด้านยา

                          4.  เพื่อเสนอมาตรการในการพัฒนาศักยภาพของอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศและการเข้าถึงยา










               7  http://www.scidev.net/Opinions/index.cfm?fuseaction=readO pinions&itemid=560&language=1 (14 May 2007)

               8  Manthan D Janodia, D Sreedhar, Virendra S Ligade, Ajay Pise, Udupa N. Facets of Technology Transfer: A
               Perspective of Pharmaceutical Industry. Journal of Intellectual Property Rights Vol 13, January 2008, pp 28-3.
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23