Page 221 - Health Impact Assessment of policies related to local pharmaceutical industry development towards technology readiness and access to medicines: HIAPP
P. 221
การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพนโยบายการพัฒนาอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศด้านความพร้อมของอุตสาหกรรมและการเข้าถึงยา 207
เพิ่มศักยภาพด้านเทคโนโลยี (complexity) ขยายตลาด (scale)
-หน่วยบริหาร วางอุตสาหกรรมยาเป็นอุตสาหกรรมยุทธศาสตร์ใน
และจัดการทุน การให้ทุนและให้ทุนวิจัยเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์แก่
ิ่
ด้านการเพม อุตสาหกรรม
ความสามารถใน
การแข่งขันของ
ประเทศ (บพข.)
้
TCELS • กำหนดอุตสาหกรรมยาเป็นอุตสาหกรรม พัฒนาระบบจัดการขอมูลส่งเสริม
ยุทธศาสตร์ที่สร้างรายได้ให้กับประเทศ การส่งออก : ประเทศ target, คู่ค้าที่
• ประสานทำระบบโควต้าการวิจัย พัฒนา และผลิต มีคณภาพ, ข้อมูลทางการตลาด,
ุ
ยาในแต่ละรายการ สำหรับอุตสาหกรรมยาใน ระเบียบ มาตรฐานกฎหมาย,
ประเทศ และองค์การเภสัชกรรม เพื่อลดความ สนับสนุนข้อมูลการสืบค้นสิทธิบัตร
ซ้ำซ้อนในการลงทุน
• ประสาน สวทช BOI จัดทำชุดนโยบายสนับสนุน
การลงทุน และมาตรการทางภาษี เป็นการเฉพาะ
สำหรับอุตสาหกรรมผลิตยาในประเทศ เช่น ลดภาษี
หากมีการลงทุนในการวิจัยพัฒนา 5% ของยอดขาย
และการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีสำหรับยาที่มี
เทคโนโลยีซับซ้อนเพิ่ม หรือ มีการลงทุนการทำการ
วิจัยชีวสมมูลที่ซับซ้อน
• ประสาน กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ
กระทรวงพาณิชย์ ในการสนับสนุนการจัด Pavilion
แสดงสินค้า ด้านยา เช่น งาน CPhI ในประเทศไทย
และ ต่างประเทศ
-องค์การเภสัช • ยกระดับบทบาทให้เป็นผู้นำด้านการวิจัย พัฒนา
กรรม NCE, NDP และยากำพร้า โดย TCELS เป็นผู้
ประสานทำระบบโควต้าการวิจัย พัฒนา และผลิตยา
ในแต่ละรายการ
• ขอยกเว้นการคืนรายได้เข้าคลัง เพื่อนำรายได้ส่วน
นี้มาลงทุนในการวิจัย พัฒนา
• ไม่เพิ่มรายการผลิตยาสามัญและยาสามัญใหม่
-สวทช. ส่งเสริม สนับสนุน ภาคเอกชน เข้าร่วมโครงการ
เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำ ที่ให้ความช่วยเหลือทางการเงินจะ