Page 102 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 102

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ       | 84




                       คณะกรรมการอาหารและยา และองค์การเภสัชกรรม ที่ผ่านความเห็นของจากคณะรัฐมนตรีเมื่อปี
                       พ.ศ. 2554 เป็นการสนับสนุนเชิงนโยบายที่เข้มแข็งและน าไปสู่การปฏิบัติจริงจนส าเร็จ บริบทระหว่าง

                       ต่างประเทศ โดยเฉพาะการที่คณะกรรมการบริหารกองทุนโลก (Global Fund) เห็นชอบให้องค์การ


                       อนามัยโลกสนับสนุนในรูปแบบ Technical Assistance เพื่อให้ประเทศก าลังพัฒนาที่มีกาลังการผลิต
                       ยาสามารถยกระดับคุณภาพจนเป็นที่ยอมรับให้ยาต้านไวรัสกับโครงการในประเทศต่างๆ ที่ใช้

                       งบประมาณกองทุนโลกจัดซื้อได้

                                   ุ
                                 อปสรรคที่ท ำให้ล่ำช้ำ ต้องยอมรับว่า เมื่อย้อนหลังไปเกือบสองทศวรรษ องค์การเภสัช
                       กรรมยังไม่พร้อมในหลายด้าน ทั้งสถานที่ กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างการก่อสร้างโรงงานแห่งใหม่ การ

                       ออกแบบ การเลือกใช้เทคโนโลยี และบุคลากร รวมถึงระบบการบริหารจัดการขององค์การฯเองที่ท า

                       ให้ผู้บริหารและคณะกรรมการบางช่วงบางสมัยให้ความส าคัญน้อย อย่างไรก็ตาม บทเรียนที่ได้เรียนรู้
                       ตลอดเส้นทาง การสร้างทีมงานชุดใหม่ด้วยวัฒนธรรมการท างานแบบใหม่ และการสนับสนุนจาก

                       ผู้บริหารในหลายช่วง ท าให้โครงการ WHO PQ ส าเร็จได้ด้วยการใช้เวลาอย่างมีประสิทธิภาพ

                                             ื่
                              3) การท างานเพอให้บรรลุการได้รับการรับรอง WHO PQ ผ่านการรับการถ่ายทอด
                                                                                                       ั
                       เทคโนโลยี มีปัจจัยส่งเสริมให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีประสบความส าเร็จ คือ ปัจจัยด้านความสัมพนธ์
                       ที่ดีระหว่างผู้ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอด (ซึ่งได้รับการยืนยันว่าเป็นปัจจัยส าคัญล าดับต้นๆ) ปัจจัย

                       ด้านความพร้อมของอภ.ในการดูดซับเทคโนโลยีจาก Mylan ปัจจัยด้านศักยภาพ ความพร้อม และ
                       ความมุ่งมั่นของผู้ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี และปัจจัยด้านการเลือกรับเทคโนโลยีที่ไม่

                       ซับซ้อนในการถ่ายทอด

                              4)  ผลลัพธ์จากการผ่านการรับรอง WHO PQ มีทั้งในรูปตัวเงินและไม่ใช่ตัวเงิน ในรูปของตัว
                       เงิน พบว่าสามารถใช้งบประมาณกองทุนโลกในการจัดซื้อยาจากอภ.ได้ แต่ในการวิจัยไม่มีข้อมูลยืนยัน

                       เชิงปริมาณถึงผลได้ทางการค้าหลังได้รับ WHO PQ

                                 ผลลัพธ์ในรูปที่ไม่ใช่ตัวเงิน พบว่า 1) อภ.สามารถสร้างระบบงานคุณภาพที่เข้มแข็งใน
                       การผลิตยาในภาพรวมขององค์กร จนสามารถสร้างภาพลักษณ์ของอภ.ในตลาดต่างประเทศให้มีความ

                                                                                          ิ่
                       เชื่อมั่นกับผลิตภัณฑ์ขององค์การทั้งที่ได้และไม่ได้ WHO PQ ซึ่งจะส่งผลต่อการเพมผลตอบแทนทาง
                       การเงินในอนาคตได้ 2) บุคลากรที่ร่วมในกระบวนการขอรับรองมีศักยภาพเข้มแข็ง มีความรู้ ความ
                                                                          ุ
                       เชี่ยวชาญมากขึ้นจนสามารถเป็นวิทยากรระดับประเทศให้กับอตสาหกรรมยาไทยได้
                                                                                       ื่
                              5)  การถอดบทเรียนครั้งนี้ท าให้มีการสรุป “แนวทางการผลิตยาเพอให้บรรลุ WHO PQ”
                                                                                        ื่
                                                                  ุ
                       และ องค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีเภสัชกรรมที่บริษัทอตสาหกรรมยาในประเทศอนๆ สามารถน าไปใช้
                       ต่อยอดในระบบคุณภาพของตัวเองได้
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107