Page 97 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 97

บทที่ 5 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 2: ปัจจัยที่เอื้อต่อความส าเร็จ          | 79





                              1) ปัญหาการพิจารณาคัดเลือกเทคโนโลยีที่จะรับการถ่ายทอด ได้แก่
                                 การเลือกเทคโนโลยีที่ต้องการจ าเป็นต้องมีการปรับให้เข้ากับบริบทของศักยภาพโรงงาน

                                                                ื่
                       ที่รับการถ่ายทอด ในกรณีองค์การเภสัชกรรมเพอให้บรรลุการได้มาตรฐาน WHO PQ การรับการ
                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีต้องใช้เวลาในการปรับปรุงโรงงานในช่วงแรก แต่ต่อมาเมื่อแน่ใจว่ามาตรฐาน

                       โรงงานเดิมที่ถนนพระรามที่ 6 ไม่สามารถจะบรรลุมาตรฐาน WHO PQ ตามที่คาดหวังได้จึงใช้เวลาถึง

                       16 ปี (2545-2561) เพื่อเตรียมพร้อมส าหรับการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัท Mylan

                              2) ปัญหาในการวางแผนเพื่อรับการถ่ายทอด ขั้นตอนนี้ไม่พบปัญหาในการศึกษานี้

                              3) ปัญหาในระหว่างการเจรจาเพื่อให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยี ขั้นตอนนี้ไม่พบปัญหา แต่
                       กลับมีปัจจัยที่ท าให้การเจรจาประสบความส าเร็จคือ ความไว้วางใจระหว่างผู้รับการถ่ายทอดและผู้ให้

                       การถ่ายทอดเทคโนโลยี

                              4) ปัญหาในขั้นตอนการด าเนินการตามแผนการถ่ายทอดเทคโนโลยี พบปัญหาในเรื่อง

                       ศักยภาพของก าลังคนตั้งแต่ระดับผู้จัดการและระดับปฏิบัติงาน โดยเฉพาะในประเด็นความเข้าใจ

                       อย่างลึกซึ้งและถ่องแท้เกี่ยวกับมาตรฐานที่ต้องไปให้ถึง แต่เพราะมีจุดแข็งของความไว้วางใจในการ

                       ท างานร่วมกัน ท าให้ผู้ถ่ายทอดฯทุ่มเทการท างานเพอสนับสนุนผู้รับการถ่ายทอดอย่างจริงจัง มีความ
                                                                 ื่
                       เป็นครูสูง คล้ายกับความมุ่งมั่นให้ลูกศิษย์ประสบความส าเร็จ ทั้งในการพัฒนาความรู้ความเข้าใจอย่าง

                                                        ื่
                       ถ่องแท้ต่อมาตรฐาน ทักษะการท างานเพอให้บรรลุมาตรฐาน การติดตามความก้าวหน้าของงานอย่าง
                       ต่อเนื่องผ่านการสอนงาน และการไปดูงานที่บริษัทผู้ถ่ายทอด นอกจากนี้โครงสร้างของโรงงาน
                       พระราม 6 ที่มีลักษณะการท างานในแนวดิ่ง การประสานงานในแนวราบเกิดขึ้นได้ยาก  ในขณะที่

                       โครงสร้างบุคลากรของโรงงานรังสิต มี QAO : QA online (QA ที่ปฏิบัติงานประจ า ณ หน้างาน

                                                             ื่
                       ร่วมกับบุคลากรของหน่วยผลิตทุกขั้นตอน) เพอติดตามและประกันคุณภาพตลอดกระบวนการผลิต
                       หน่วยงานคลังอยู่ภายใต้การก ากับดูแลของโรงงาน (Plant Manager) และมี QAO ประจ าที่คลัง

                       เช่นกัน หน่วยงานวิศวกรรมอยู่ภายใต้การก ากับดูแลของโรงงาน ท าให้สามารถบริหารจัดการได้แบบ

                       เบ็ดเสร็จ หน่วยงาน QA/QC มีการบริหารจัดการเบ็ดเสร็จภายใน และสามารถประสานงานกับ


                       โรงงานได้สะดวก เนื่องจากอยู่ภายใต้การก ากับดูแลโดยรองผู้อานวยการท่านเดียวกับส่วนโรงงาน
                       และสามารถจัดทีมงานไป audit ได้อย่างครบถ้วน (ภาพที่ 10)
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102