Page 93 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 93

บทที่ 5 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 2: ปัจจัยที่เอื้อต่อความส าเร็จ          | 75





                                                                                        ี
                       ได้รับมอบหมายให้ก ากับดูแลการประกันคุณภาพโรงงานผลิตยารังสิต 1 อกด้วย ท าให้สามารถ
                       บริหารงานได้เบ็ดเสร็จในโครงการ WHO PQ และสามารถตัดสินใจได้อย่างอิสระ โดยความสนับสนุน


                       ของประธานคณะกรรมการอภ. และ ผู้อานวยการอภ. โดยมีการปรับเปลี่ยนโครงสร้าง การมอบ
                                                                          ื่

                       อานาจการบริหารจัดการและการจัดโครงสร้างบุคลากร เพอผลักดันการท างานในการขอรับรอง
                       WHO PQ ดังนี้
                                 1) การมีนโยบายที่ชัดเจนในการสนับสนุนจากประธานคณะกรรมการและผู้อ านวยการ

                       อภ.

                                 2) มีการมอบอานาจบริหารจัดการเบ็ดเสร็จของผู้รับผิดชอบโครงการ ที่ต้องสินใจอย่าง
                       รวดเร็ว

                                 3) มีการจัดสร้างอาคารสถานที่ที่ใช้ในการผลิตยา ห้องปฎิบัติการในการควบคุม
                       คุณภาพ เครื่องจักรที่ใช้ผลิตยา เครื่องมือวิเคราะห์ แล้วเสร็จและเป็นไปตามข้อก าหนด

                                 4) มีความต่อเนื่องในการท างาน โดยเฉพาะงานด้านเอกสารที่เกี่ยวข้อง

                                 5) งบประมาณที่ใช้ต้องเพยงพอในการแก้ไขข้อบกพร่อง รวมถึงค่าใช้จ่ายในการ
                                                         ี
                       เดินทางเพื่อไปท างานร่วมกับทีมบริษัท Mylan

                                 6) ให้ความส าคัญในการปรับปรุงโครงสร้างบุคลากรเพอที่จะรองรับกับงานที่จะเกิดขึ้น
                                                                               ื่
                       มีการจัดองค์กรและการประสานงานใหม่ ได้แก่ โครงสร้างขององค์กร การก าหนดส่วนงาน การ
                       ก าหนดต าแหน่งงานและอานาจหน้าที่ รวมการจัดการบุคลากร ได้แก การจัดอัตราก าลัง การคัดเลือก
                                                                               ่

                                                                         ั
                       การเลื่อนขั้น เลื่อนต าแหน่ง เงินเดือน การโยกย้าย การพฒนาบุคคล ที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
                       คัดเลือกทีมบุคลากรที่ร่วมงานที่มีความตั้งใจและมีความกระตือรือร้น โดยเฉพาะ Key personnel
                       การโยกย้าย การพัฒนาบุคคล ที่เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น การคัดเลือกทีมบุคลากรที่ร่วมงาน โดยเฉพาะ

                       Key personnel ที่มีความกระตือรือร้นในการรับองค์ความรู้ใหม่ มีการเปิดรับบุคลากรใหม่ทั้งเภสัช

                       กร วิศวกร นักวิทยาศาสตร์ เข้าร่วมเตรียมงานเอกสารด้านคุณภาพ เภสัชกรฝ่ายผลิตด าเนินในเรื่อง
                       การซื้อเครื่องจักร  และมีการพัฒนาศักยภาพโดยวิธี on the job training ในการฝึกปฎิบัติงานที่ฝ่าย

                       ผลิตยาและฝ่ายประกันคุณภาพโรงงานพระรามหก รวมถึงการพฒนาศักยภาพบุคลากรโดยส่งเสริม
                                                                             ั
                                                              ิ
                       และให้โอกาสกับบุคลากรที่ทุ่มเทกับงานเป็นพเศษในการศึกษา อบรม  ประชุม การท า Factory
                       Acceptance Test (FAT) ในต่างประเทศ

                              3) ความซับซ้อนของเทคโนโลย   ี
                                                         5
                                 Waroonkun และ Stewart  กล่าวว่าการถ่ายทอดเทคโนโลยีเป็นกระบวนการที่
                       ยากล าบากเพราะใช้ความรู้ที่ไม่ปรากฎชัดแจ้ง (tacit knowledge) ดังนั้นเทคโนโลยีที่ซับซ้อนยิ่งขึ้นก็

                       จะใช้เวลานานขึ้น ใช้ความเชี่ยวชาญมากขึ้น รวมถึงการใช้เงินทุนในการถ่ายทอดเทคโนโลยีมากยิ่งขึ้น
   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97   98