Page 95 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 95
บทที่ 5 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 2: ปัจจัยที่เอื้อต่อความส าเร็จ | 77
ได้จากการที่องค์การเภสัชกรรมสามารถท างานคู่ขนานได้โดยท าการผลิตยา efavirenz ในเดือน
มกราคม พ.ศ. 2559 ก่อนมีการลงนามถ่ายทอดเทคโนโลยีอย่างเป็นทางการในวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ.
2559 ในการศึกษาพบว่าบริษัท Mylan มีความเชื่อมั่นและไว้วางใจต่อองค์การเภสัชกรรม รวมทั้ง
ความไว้วางใจในระดับตัวบุคคล (ภญ.มุกดาวรรณ) ทั้งนี้ในการสัมภาษณ์ คุณเทวัญ ติวารี ได้แสดง
ั
ความเห็นว่าภาพลักษณ์ (Image) และความสัมพนธ์ (Relationship) ของบุคคลมีส่วนส าคัญในการ
27
ตัดสินใจในความร่วมมือ
2) ผลประโยชน์ทางธุรกิจที่ลงตัวระหว่างผู้ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
พบว่าในการเริ่มต้นท า Technology transfer Agreement นั้นมีการตกลงที่จะซื้อวัตถุดิบจากบริษัท
Mylan แบบเฉพาะเจาะจง เป็นระยะเวลา 3 ปี โดยที่ราคาวัตถุดิบต้องไม่แตกต่างจากตลาดโลกเกิน
ร้อยละ 5 ซึ่งจะก าหนดในการซื้อขายแต่ละครั้งที่สอบราคาตลาด โดยหลังจากหมดช่วงเวลา 3 ปี
บริษัท Mylan จึงจะเข้าร่วม bidding ตามปกติ ในมุมมองของตัวแทนบริษัท Mylan ในประเทศไทย
นั้นถือว่าเป็นปริมาณสินค้าที่มีความดึงดูดในการท าธุรกิจ กล่าวได้ว่า การรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
ั
ของไทย อาจไปไม่ถึงในลักษณะการเป็นพันธมิตรร่วมพฒนาเทคโนโลยี แต่ผู้ถ่ายทอดมองศักยภาพใน
ั
เรื่องความสามารถในทางการค้า (commercialized capabilities) และโอกาสการพฒนาในด้าน
การตลาด (Market capabilities) ขององค์การเภสัชกรรมหากสามารถบรรลุมาตรฐาน WHO PQ
ิ่
ตามเป้าหมาย แต่คาดหวังว่าการเพมศักยภาพทางการตลาดจะเป็นผลประโยชน์ตรงต่อการเพมยอด
ิ่
จ าหน่ายวัตถุดิบจากการสั่งซื้อขององค์การเภสัชกรรม หากสามารถท ายอดการขายเพิ่มขึ้น
3) การมีคนกลางที่เป็นผู้ประสานความสัมพนธ์ที่ดี คือ ผู้แทนผู้จัดจ าหน่ายของบริษัท
ั
Mylan ในประเทศไทย ซึ่งคือบริษัท ซาย ฟาร์มา จ ากัด โดยคุณเทวัญ ติวารี นั้นมีบทบาทที่ส าคัญ
อย่างยิ่งที่ท าให้การสื่อสารระหว่างองค์การเภสัชกรรมกับบริษัท Mylan เป็นไปอย่างราบรื่น 5.4 ขิม
5.4 ผลได้จากการบรรลุมาตรฐาน WHO PQ
ั
ความพยายามในการพฒนามาตรฐานการผลิตยาให้บรรลุ WHO PQ นั้นในการศึกษายัง
พบว่าผลสัมฤทธิ์ที่ได้รับไม่ได้เพยงแต่การผลิตยา Efavirenz ที่ผ่านมาตรฐาน WHO PQ เท่านั้น แต่
ี
การถ่ายทอดเทคโนโลยี เทคโนโลยี ยังมีผลให้สามารถน าความรู้ไปพฒนาต่อยอดในการผลิตยา
ั
รายการใหม่ๆในกลุ่มยาต้านไวรัสเอชไอวีเช่น GPO VirT ซึ่งเป็นยาสูตรผสมที่ใช้ Efavirenz 600 mg
ร่วมกับ Tenofovir DF 300 mg และEmtricitabine 200 mg
ี
มูลค่าประหยัดจากการได้รับมาตรฐาน WHO PQ เฉพาะการผลิตยา Efavirenz เพยงยา
รายการเดียวท าให้รัฐประหยัดงบประมาณในการน าเข้ายาจากต่างประเทศประมาณ 860 ล้านบาท
27 ความเห็นของผู้แทน Mylan