Page 91 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 91
บทที่ 5 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 2: ปัจจัยที่เอื้อต่อความส าเร็จ | 73
ั
ื่
ภาษาองกฤษได้ดี เพอเป็นฝ่ายสนับสนุนในการเข้ารับการตรวจประเมินจากองค์การอนามัยโลก
อย่างไรก็ตาม องค์การอนามัยโลกยินดีให้มีล่ามในการช่วยสื่อสารระหว่างการตรวจประเมินได้
1.3) ความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานผ่านระบบคอมพวเตอร์ เนื่องจากองค์การเภสัช
ิ
กรรมได้ปรับปรุงวิธีการจัดการระบบเอกสารที่เกี่ยวข้องกับระบบการผลิตและการควบคุมคุณภาพผ่าน
ิ
ิ
ระบบคอมพวเตอร์ ดังนั้นความเชี่ยวชาญในการใช้งานเอกสารผ่านระบบคอมพวเตอร์จึงเป็นส่วน
ิ
ส าคัญที่ส่งผลต่อการประเมินคุณภาพ เพราะเป็นการแสดงให้เห็นว่า การน าระบบคอมพวเตอร์มาใช้
ในการจัดการเอกสารไม่เกิดผลกระทบต่อคุณภาพและการประกันคุณภาพของผลิตภัณฑ์ ตาม
21
ค าแนะน าขององค์การอนามัยโลก
1.4) การสอนงาน หรือเตรียมถ่ายทอดงาน ตามหน้าที่ความรับผิดชอบ จากหัวหน้า
แผนกไปสู่เภสัชกรประจ าแผนกเป็นการสร้างการมีส่วนร่วมของบุคลากร และพฒนาให้บุคลากรรุ่น
ั
ต่อไปมีความสามารถ ความเชี่ยวชาญเพมขึ้น และสามารถด าเนินงานต่อไปในอนาคตได้และ
ิ่
กระบวนการท างานไม่หยุดชะงัก
นอกจากนี้ในการศึกษาของ Minbaeva, D., et al. ได้ระบุกรอบแนวคิดของ
22
ความสามารถในการดูดซับเทคโนโลยี เกิดจากปัจจัย 2 ประการ คือ employees’ ability and
employees’ motivation. โดยที่ความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับทักษะในงานและระดับ
การศึกษา รวมทั้งการมีแรงจูงใจอนๆ เช่นค่าตอบแทนหรือการเลื่อนต าแหน่งจะส่งผลต่อการดูดซับ
ื่
ั
เทคโนโลยี โดยในกรณีอภ.ได้มีมาตรการที่จะเพิ่มความสามารถในการดูดซับเทคโนโลยีโดยการพฒนา
ื่
ิ่
ศักยภาพของบุคลากรเพอเตรียมพร้อมในการรับการถ่ายทอดรวมทั้งการมีค่าตอบแทนเพมให้กับ
บุคลากรที่อยู่ในโครงการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีในลักษณะดังกล่าวด้วยเช่นกัน
2) ลักษณะของผู้ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลย ี
มีงานวิจัยมากมายที่แสดงให้เห็นว่าการถ่ายทอดเทคโนโลยีและผู้รับเทคโนโลยีมีอทธิพล
ิ
23
อย่างมีนัยส าคัญต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยี Purushotham, Sridhar และ Sunder พบว่า
ผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีและผู้รับเทคโนโลยีเป็นกุญแจส าคัญในการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่ประสบ
ิ
ความส าเร็จ และมีอทธิพลต่อความสามารถในการดูดซับความรู้ นอกจากนี้ Waroonkum and
21 Annex 5 Guidance on good data and record management practices.
https://www.who.int/medicines/publications/pharmprep/WHO_TRS_996_annex05.pdf
22 Minbaeva, D., et al. 2014. MNC knowledge transfer, subsidiary absorptive capacity and HRM. Journal of International Business Studies;
45(1): 38-51.
23 Purushotham, H. Sridhar, V. and Sunder S. Management of technology transfer from Indian publicly funded R&D institutions to
industry- modelling of factors impacting successful technology transfer. International Journal of Innovation, Management and
Technology 2013; 4 (4): 422-428.