Page 86 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 86

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ   | 68





                       ด าเนินการในส่วนที่ต้องมีการเดินทางไป-มา ของบุคลากรจาก sending unit และ receiving unit
                       จึงได้ด าเนินการเตรียมความพร้อมในส่วนของเอกสาร วัตถุดิบ บรรจุภัณฑ์ เครื่องมือ เครื่องจักรที่ต้อง

                                                                  ื่
                       ใช้ในกระบวนการผลิต ในส่วนที่ท าได้ไปพลางก่อน เพอให้พร้อมต่อการด าเนินกิจกรรมในขั้นต่อไป
                              เมื่อพจารณาการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประสบการณ์ขององค์การเภสัชกรรมมีความ
                                   ิ
                       แตกต่างจากเปรียบเทียบกับบริษัทผู้ผลิตยาในประเทศที่มีการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ได้แก่ บริษัท

                       สยามไบโอไซเอนซ์ ประเทศไทย (SBS) พบว่า องค์การเภสัชกรรม ใช้ความร่วมมือกับ บริษัท Mylan
                       ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีทั้งการผลิตและการขึ้นทะเบียน Pre-Qualification ทั้งกระบวนการผลิต

                                                                              ื่
                       รับรองคุณภาพและรับประกันคุณภาพขององค์การอนามัยโลก เพอมุ่งหวังการส่งออกไปจ าหน่ายใน
                       ประเทศที่รับการสนับสนุนจากกองทุนโลก  ในขณะที่เช่นเดียวกับ SBS ได้ที่รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
                                                                                                    ื่
                       จาก Center of Molecular Immunology (CIM) รัฐวิสาหกิจด้านยาของประเทศคิวบา เพอผลิต
                       ยาชีววัตถุคล้ายคลึง (Biosimilar) ที่มาจากยาชีววัตถุ (Biologics) ยาเหล่านี้มีราคาแพงอยู่ในกลุ่มที่

                       รักษาโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูง นอกจากจะช่วยเพมการเข้าถึงยาของผู้ป่วยในไทยได้มากขึ้น โดย
                                                               ิ่
                       บริษัท SBS มีเป้าหมายในการส่งออกให้กับประเทศในภูมิภาคอาเซียนด้วย โดยใช้การร่วม

                       ทุน 70:30 กับทางสถาบัน CIM ตั้ง ABIOSIM เป้นบริษัทร่วมทุนกับบริษัทเยอรมัน มีที่ตั้งอยู่ใน

                                ื่
                       เยอรมนีเพอด าเนินการขึ้นทะเบียนยาในสหภาพยุโรป ส่วนโรงงานของ SBS ในไทย มีที่ตั้งอยู่ที่ต าบล

                       บางใหม่ อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี ก่อสร้างเสร็จเมื่อกลางปี พ.ศ. 2562 ถือเป็นโรงงานผลิต
                       ไบโอฟาร์มาอย่างครบวงจรแห่งแรกของประเทศไทย ที่ได้การรับรอง PIC/S, ISO 9001, ISO

                       17025 และ อยู่ระหว่างรอการรับรอง GMP จากสหภาพยุโรปทั้งในส่วนของโรงงานการผลิตและการ
                       น ายาที่ผลิตได้ไปขึ้นทะเบียนที่ยุโรป เพื่อสามารถส่งออกยาไปจ าหน่ายในยุโรปด้วยเช่นกัน




                       5.2   ปัจจัยบริบทที่เอื้อต่อความส าเร็จ
                              จากการทบทวนงานวิจัยที่ผ่านมา พบว่าปัจจัยที่ท าให้การถ่ายทอดเทคโนโลยีครั้งนี้ประสบ

                                         ี
                       ความส าเร็จ ไม่ใช่เพยงความสามารถในการเรียนรู้ทางด้านเทคนิค (Technical know-how or
                                                                ื่
                       Technology know-how) เท่านั้น แต่มีปัจจัยอนที่ต้องมีได้แก่ ความแน่นอนของนโยบายของ
                       ประเทศและขององค์กรที่รับการสนับสนุน (stable direction-oriented cultures) เนื่องจากต้องมี

                       การลงทุนระยะยาวจ านวนมาก เพอให้บรรลุเป้าหมาย, การปรับโครงสร้างและความรับผิดชอบของ
                                                    ื่
                                                                                                ื่
                       องค์กรที่ให้มีผู้บริหารโครงการมีอานาจเต็มในการตัดสินใจและสั่งการอย่างชัดเจน เพอให้สื่อสาร

                       เป้าหมายที่ชัดเจนไปยังผู้ปฏิบัติได้, นอกจากนี้ปัจจัยด้านความสามารถในปรับความรู้ที่ได้เรียนรู้ผ่าน

                       การถ่ายทอดเทคโนโลยีให้เป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมการเรียนรู้ขององค์กรเพอให้เกิดความยั่งยืนใน
                                                                                       ื่
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91