Page 83 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 83

บทที่ 5
                                                           อภิปรายผล







                                                                                                  ิ
                              การศึกษานี้ได้น าเสนอบทเรียนการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากผู้ถ่ายทอดคือ Mylan อนเดีย ไป
                       ยังผู้รับการถ่ายทอดคือ อภ. ในการผลิตยา Efavirenz ให้ได้มาตรฐาน WHO PQ โดยน าเสนอตั้งแต่

                       การก่อรูปของนโยบาย การจัดท าสัญญาและบทบาทของผู้ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี

                                                                                    ่
                       โดยที่ในกรณีของอภ. มีความจ าเพาะของการก่อรูปนโยบายการขอรับการถายทอดเทคโนโลยีกล่าวคือ
                       อภ. ในฐานะที่เป็นองค์กรรัฐ มุ่งตอบสนองนโยบายรัฐในการสร้างหลักประกันสุขภาพของประเทศ

                            ิ่
                       และเพมการเข้าถึงยาของประชาชนไทย ซึ่งมีวัตถุประสงค์ที่นอกเหนือจากการถ่ายทอดเทคโนโลยี
                                                                                  1
                       ระหว่างอุตสาหกรรมยาภาคเอกชน ที่จะหวังในการเพิ่มโอกาสทางการค้า
                               เมื่อทบทวนปรัชญาเริ่มต้นของ WHO PQ คือ การสนับสนุนประเทศก าลังพัฒนาให้สามารถ

                       ผลิตยาจ าเป็นได้ในคุณภาพที่ได้รับการยอมรับระดับสากล โดยใช้งบประมาณการจัดซื้อมหาศาลของ
                       กองทุนโลกเป็นตัวผลักดัน นับว่า “Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชนในการ

                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ” ได้บรรลุเป้าประสงค์นั้นแล้ว และยิ่งในช่วงเวลา

                                                                                        ึ่
                       ท่ามกลางวิกฤติการระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพนธุ์ใหม่ (COVID-19) การพงตัวเองได้ด้านยาของ
                                                                 ั
                                                                                      ื่
                       ประเทศได้รับการให้ความส าคัญขึ้นอกเท่าทวีคูณเพอให้ฝ่าวิกฤตินี้ไปได้ เพอให้ประชาชนสามารถ
                                                      ี
                                                                  ื่
                       เข้าถึงยาจ าเป็นได้ การอภิปรายผลการศึกษาในบทนี้ แบ่งเป็น 4 ส่วน ดังนี้

                       5.1   รูปแบบการถ่ายทอดเทคโนโลย   ี

                              ในอดีตผู้ผลิตยาในประเทศไทยมีวิธีการในการรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ผ่านการฝึกอบรม

                       จากมหาวิทยาลัยหรือจาก instruction manual ที่มาพร้อมกับเครื่องมือ หรือเรียนรู้จากผู้ขาย แต่ก็
                       พบปัญหาที่ไม่สามารถน ามาใช้ได้จริงเนื่องจากศักยภาพและความพร้อมของโรงงานยาไทย ความ

                       แตกต่างของบริบทและการถ่ายทอดที่ไม่สมบูรณ์ ท าให้โรงงานยาในประเทศไทยแทบจะไม่มีการ

                                            2
                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีได้จริง    หลังความพยายามยาวนานกว่า 14 ปี อภ.เลือก Mylan เป็นผู้ถ่ายทอด
                       เทคโนโลยีเนื่องจากเป็นผู้ผลิตที่มีผลิตภัณฑ์ที่ได้รับมาตรฐาน WHO PQ ถือเป็นการรับการถ่ายทอด

                       เทคโนโลยีจากบริษัทเอกชน ที่เดิมเป็นคู่ค้าในการขายวัตถุดิบในการผลิตยาของอภ. มาเป็นผู้ถ่ายทอด



                       1  Alam, S. and Ahmad, J. 2013. Pharmaceutical technology transfer: an overview.  International Journal of Pharmaceutical Sciences and
                       Research; 4(7): 2441-2449.
                       2  Toyama, O., Kongmuamg, S. and Toyama, M. 2014. Technology Transfer and Technological Capability: A Case Study in Manufacturing
                       Process in Thai Pharmaceutical Industry.  Silpakorn U Science & Tech J; 8(2): 51-61.
   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88