Page 88 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 88
Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ | 70
นโยบายของกระทรวงสาธารณสุขที่ให้การสนับสนุนโครงการขอรับรองมาตรฐาน
WHO PQ ขององค์การเภสัชกรรม นอกจากจะเป็นการตอบสนองต่อการเรียกร้องจากเครือข่ายผู้ติด
เชื้อที่ร่วมรณรงค์ให้รัฐบาลส่งเสริมนโยบายด้านหลักประกันสุขภาพ ยังเป็นการสนับสนุนให้ผู้ป่วย
สามารถเข้าถึงยาจ าเป็น ที่มีคุณภาพภายใต้การมีหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า อีกด้วย
นโยบายที่ส่งเสริมการขอรับรองมาตรฐาน WHO PQ นอกจากจะเป็นการส่งเสริม
นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าแล้ว ยังเป็นการส่งเสริมศักยภาพขององค์การเภสัชกรรม ซึ่งเป็น
ั
หน่วยงานส าคัญด้านยาของประเทศไทย ทั้งในด้านการพฒนาศักยภาพการผลิตในประเทศและ
มาตรฐานขององค์กร ซึ่งจะส่งผลต่อการทดแทนการน าเข้ายาต้านไวรัสจากต่างประเทศ เป็นการ
ประหยัดงบประมาณสุดท้ายและส่งผลให้ระบบหลักประกันสุขภาพยั่งยืน นอกจากนี้ยังสามารถพฒนา
ั
ต่อยอดเพื่อการส่งออกยาไปยังต่างประเทศได้อีกด้วย
นโยบายจากรัฐบาลที่ส าคัญอกช่วงหนึ่ง คือ มติเห็นชอบในแผนพฒนาศักยภาพที่
ั
ี
ยั่งยืนในประเทศไทยในเรื่อง WHO Prequalification Scheme และแผนองค์รวมของการพฒนา
ั
ศักยภาพเครือข่ายการวิจัยพฒนาและการผลิตวัคซีนไข้หวัดใหญ่ ในการประชุม ครั้งที่ 12/2553 เมื่อ
ั
วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2553 แผนฯดังกล่าวมีระยะเวลาด าเนินงาน 10 ปี (พ.ศ.2553 – 2563)
ประกอบด้วยแผนงานทั้งสิ้น 16 โครงการ จากหน่วยงานองค์การอาหารและยา
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ รวมทั้งองค์การเภสัชกรรมด้วย โดยองค์การเภสัชกรรมได้เสนอ 8
โครงการแผนงาน ซึ่งมีเป้าหมายส าคัญคือ การด าเนินการให้ผลิตภัณฑ์ของโรงการผลิตยารังสิต
Phase 1 ได้รับการรับรอง WHO PQ และผลิตภัณฑ์ของโรงงานผลิตภัณฑ์ยา Phase 2 ได้รับการ
15
รับรองตามมาตรฐาน PIC/S หรือตามมาตรฐานของประเทศที่องค์การเภสัชกรรมส่งออกไปจ าหน่าย
5.2.3 นโยบายของคณะกรรมการองค์การเภสัชกรรม
ปัจจัยด้านก าลังคนและด้านองค์กรต่อความส าเร็จในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งเป็น
ส่วนที่ส าคัญการสนับสนุนจากระดับผู้ก าหนดนโยบาย ในการศึกษา พบว่าหากผู้ก าหนดนโยบายได้
16
มีประสบการณ์ตรงกับประเด็นการถ่ายทอดเทคโนโลยี จะส่งผลให้เกิดการสนับสนุนต่อการรับการ
ถ่ายทอด สอดคล้องกับในกรณีองค์การเภสัชกรรมที่ผู้บริหารได้แก่คณะกรรมการองค์การเภสัชกรรม
ผู้อานวยการองค์การเภสัชกรรม ได้มีโอกาสเข้ามารับรู้เกี่ยวกับความส าคัญของเทคโนโลยีที่รับการ
ถ่ายทอดที่จะเป็นประโยชน์ต่อการพฒนาความสามารถทางการตลาดขององค์การเภสัชกรรมใน
ั
15 สรุปข่าวการประชุมคณะรัฐมนตรี 8 กุมภาพันธ์ 2554 http://www.eppo.go.th/index.php/th/eppo-
intranet/item/download/3960_eb6dbbb87acbea22a7401df9e3f21d9b
16 Peter Roupas (Team Leader) (2008) Human and Organisational Factors
Affecting Technology Uptake by Industry, Innovation, 10:1, 4-28, DOI: 10.5172/impp.453.10.1.4