Page 87 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 87

บทที่ 5 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 2: ปัจจัยที่เอื้อต่อความส าเร็จ          | 69





                                                 ื่
                       การน าเทคโนโลยีที่ได้รับไปใช้เพอต่อยอดในการสร้างเทคโนโลยีใหม่ในองค์กรผู้รับการถ่ายทอด (the
                       capacity of people to assimilate, adapt, modify, and generate new technology)  12, 13

                       ซึ่งสอดคล้องกับผลการศึกษาในครั้งนี้ กล่าวคือ

                              5.2.1   นโยบายขององค์กรระหว่างประเทศ

                                     องค์การเภสัชกรรมมีศักยภาพในการผลิตยาส าหรับรักษาโรคเอดส์ เช่น GPO VIR
                       (Nevirapine 200 mg/Lamivudine 150 mg/Stavudine 30 mg Tablets) โดยในช่วงปี พ.ศ.2544

                                                                     ื่
                       องค์กรระหว่างประเทศ มีความสนใจซื้อยา GPO VIR เพอไปสนับสนุนกลุ่มประเทศที่มีรายได้ต่ าและ
                       ได้รับผลกระทบจากกลุ่มโรคเฉพาะ กลุ่มโรคที่องค์กรระหว่างประเทศให้ความส าคัญ ได้แก่ โรคติดเชื้อ
                       เอชไอวี/เอดส์ โรควัณโรค โรคมาลาเรีย ไข้หวัดใหญ่ โรคในระบบสืบพนธุ์ และโรคในเขตร้อนที่ถูก
                                                                                  ั
                       ละเลย (Neglected tropical diseases; NTD)

                                     กิจกรรมสนับสนุนการเข้าถึงยาดังกล่าวสอดคล้องกับเป้าหมายของ The United
                       Nations ที่ต้องการให้ผู้ป่วยในกลุ่มประเทศที่มีการเข้าถึงยาอย่างจ ากัดได้เข้าถงยาที่มีคุณภาพ
                                                                                      ึ
                                     อย่างไรก็ตาม การจะจัดซื้อยาผ่านองค์กรระหว่างประเทศ เช่น การจัดซื้อผ่าน

                       กองทุน Global Fund ผลิตภัณฑ์ยาส าเร็จรูปที่จะได้รับการจัดซื้อจะต้องผ่านการรับรองมาตรฐาน
                       WHO PQ ก่อน

                                     นอกจากปัจจัยด้านการตลาดแล้ว ปัจจัยด้านคุณภาพซึ่งหน่วยงานประกันคุณภาพ

                       ขององค์การเภสัชกรรมเอง ยังมีความต้องการยกระดับการประกันคุณภาพให้ได้มาตรฐานสากลด้วย
                       การได้รับการรับรองมาตรฐานจากองค์การอนามัยโลก เช่น WHO PQ ซึ่งในขณะนั้นเป็น

                       มาตรฐานสากลที่ได้รับการยอมรับ ปัจจัยจากความต้องการยกระดับการประกันคุณภาพซึ่งเป็นหนึ่งใน

                                                                                         ี
                       เป้าหมายส าคัญของหน่วยงานประกันคุณภาพองค์การเภสัชกรรมจึงเป็นอกปัจจัยที่ส่งผลต่อ
                       ความส าเร็จในครั้งนี้เช่นกัน

                              5.2.2   นโยบายในประเทศ
                                     นโยบายรัฐบาล เป็นอกหนึ่งปัจจัยส าคัญที่มีส่วนให้โครงการ WHO PQ ประสบ
                                                        ี
                                                                                        14
                       ความส าเร็จ โดยในช่วงเวลานั้นรัฐบาลมีนโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า  หนึ่งในแนวคิดของ
                       รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขในขณะนั้น ได้แก่ การลดค่าใช้จ่ายด้านการรักษาพยาบาล ค่ายา
                       เป็นหนึ่งในค่าใช้จ่ายหลักในระบบสาธารณสุขของประเทศไทย








                       12  Choi, Hee Jun. 2009. Technology Transfer Issues and a New Technology Transfer Model. Journal of Technology Studies; 35(1):49-57.
                       13  Gopalakrishnan, S. and Santoro, M D. 2004. Distinguishing Between Knowledge Transfer and Technology Transfer Activities: The Role of
                       Key Organizational Factors. IEEE TRANSACTIONS ON ENGINEERING MANAGEMENT; 51(1): 57-69.
                       14  พระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพแห่งชาต พ.ศ. 2545 ส านักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาต http://ebook.dreamnolimit.com/nhso/003/
                                              ิ
                                                                      ่
                                                                        ิ
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92