Page 85 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 85

บทที่ 5 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 2: ปัจจัยที่เอื้อต่อความส าเร็จ          | 67





                                       9
                                                            ั
                       ของ Jussi Heikkilä  ที่พบว่าการมีความสัมพนธ์อนดี และความเชื่อมั่นระหว่างองค์กรทั้งสองจะมีผล
                                                                ั
                                                                                                       ั
                       ต่อความส าเร็จในการถ่ายทอดเทคโนโลยี เช่นเดียวกับบริษัท Mylan มีต่อ อภ. รวมทั้งความสัมพนธ์
                       อนดีที่เกิดผ่านตัวแทนบริษัท Mylan ในประเทศไทย กรณีของความสัมพนธ์ Mylan และ อภ. พบว่า
                        ั
                                                                                   ั
                       ความไว้วางใจระหว่างกันมีผลต่อการถ่ายทอด Tacit knowledge แม้ว่าจะไม่มีเงื่อนไขในข้อสัญญา
                            10
                       ชัดเจน  และปัจจัยของการมีประสบการณ์ในลักษณะคู่ค้าที่ดีมาก่อนก็เป็นปัจจัยให้เกิดความส าเร็จ
                                 11
                       เช่นเดียวกัน
                              บทบาทในการถ่ายทอดเทคโนโลยี เริ่มจากทีมงานของ Mylan ในฐานะ Sending unit คือ
                       เป็นพเลี้ยง หรือโค้ชที่คอยให้ค าแนะน า ค าปรึกษาในการด าเนินกิจกรรมต่าง ๆ  ช่วยอานเอกสาร
                                                                                                ่
                            ี่
                       ทบทวนความถูกต้อง และให้ค าแนะน าถึงแนวทางการตอบข้อซักถามของผู้ประเมินทะเบียนต ารับ

                       และผู้ตรวจประเมินสถานที่ผลิตยา ในฐานะผู้ที่มีประสบการณ์ที่ผ่านการขอรับรอง WHO PQ ด้วย
                       ตนเองมาก่อน

                              ส าหรับองค์การเภสัชกรรมเป็น Receiving unit ที่ต้องด าเนินการกิจกรรมทั้งหมดด้วยตนเอง

                       ทั้งในส่วนของเล่มทะเบียนต ารับ รวบรวมข้อมูล และจัดท าจากเอกสารภายในขององค์การเภสัชกรรม
                       ตามขั้นตอนการผลิตที่องค์การเภสัชกรรมใช้จริง ซึ่งมีความแตกต่างจาก Mylan ทั้งในส่วนขั้นตอน

                       การผลิต เครื่องมือเครื่องจักร หรือแหล่งผู้ผลิตวัตถุดิบ บรรจุภัณฑ์ ดังนั้นเอกสารทุกฉบับ ที่ประกอบ

                       ในเล่มทะเบียนต ารับยา จึงจัดท าโดยบุคลากรขององค์การเภสัชกรรม บนพนฐานข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง
                                                                                     ื้
                       ณ โรงงานผลิตยารังสิต 1 องค์การเภสัชกรรม

                              อย่างไรก็ตาม แม้ Mylan สามารถให้ความช่วยเหลือในฐานะที่เคยผ่านการตรวจรับรองจาก

                       การตรวจประเมินของ WHO มาก่อนก็ตาม แต่การตรวจในครั้งที่อภ. ขอรับการตรวจประเมินจาก
                       WHO พบว่ามีการควบคุมที่เข้มงวดยิ่งขึ้นกว่าเมื่อครั้งที่ Mylan ขอการรับรองรายการยา Efavirenz

                       tablets ดังนั้น นอกจากการช่วยเหลือของ Mylan แล้วทีมบุคคลากรของอภ. ที่เป็นผู้ปฏิบัติงานจริง

                       ตั้งแต่ระดับพนักงานหน้างาน ถึงผู้บริหารระดับสูงขององค์การเภสัชกรรม จ าเป็นต้องมีการพฒนา
                                                                                                     ั
                       ศักยภาพให้พร้อมที่เป็นผู้ตอบค าถามต่อคณะผู้ตรวจจาก WHO และให้ข้อมูลทั้งหมดต่อผู้ตรวจ

                       ประเมิน
                              ปัจจุบัน อภ. อยู่ระหว่างการเตรียมการขอรับการรับรอง WHO PQ ในยารายการที่สอง โดย

                       ท าการทดลองผลิตระดับ pilot scale แต่เนื่องด้วยสถานการณ์ COVID-19 จึงต้องปรับแผนการ




                       9 Heikkilä, J. 2002. From supply to demand chain management: efficiency and customer satisfaction.  Journal of Operations Management;
                       20:747–767.
                       10  Günsel, A., Dodourova, M., Ergün, A T. and Gerni, C. 2019. Research on effectiveness of technology transfer in technology alliances:
                       evidence from Turkish SMEs. Technology Analysis & Strategic Management; 31(3): 279-291, DOI: 10.1080/09537325.2018.1495836
                       11  Araújo1, C. and Teixeira, A.  2014. Determinants of International Technology Transfer: an Empirical Analysis of the Enterprise Europe
                       Network. J. Technol. Manag. Innov.; 9(3):120-134.
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90