Page 89 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 89
บทที่ 5 ผลการศึกษาและอภิปรายผล ส่วนที่ 2: ปัจจัยที่เอื้อต่อความส าเร็จ | 71
อนาคต ท าให้มีการสนับสนุนทีมปฏิบัติการซึ่งเป็นการเร่งกระบวนการของการรับการถ่ายทอด
เทคโนโลยีขององค์การเภสัชกรรม ดังตัวอย่าง
- การที่ผู้บริหารขององค์การเภสัชกรรมในทุกระดับ ที่เล็งเห็นถึงความส าคัญใน
ั
การพฒนาศักยภาพ มาตรฐานขององค์กร รวมทั้งสนับสนุนกิจกรรมต่างๆ ของ
ื่
องค์การเภสัชกรรม เช่น การด าเนินการหารือกับรัฐบาล การน าเสนอข้อมูลเพอ
สนับสนุนการของบประมาณจากส านักงบประมาณ ได้แก่ จ านวนผู้ติดเชื้อฯ
มูลค่าการน าเข้ายา และอตราคืนทุน และการแต่งตั้งคณะท างานชุดต่างๆ เช่น
ั
คณะกรรมการจัดท าแผนพฒนาศักยภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทยในเรื่อง WHO
ั
Pre-qualification Scheme คณะกรรมการติดตามและก ากับการด าเนินงาน
ก่อสร้างโรงงานผลิตยารังสิต 1 เป็นต้น
- ความต่อเนื่องของนโยบายในระดับบอร์ดบริหาร ความเข้าใจในบทบาทของ
องค์การเภสัชกรรมในมุมมองของบอร์ดบริหาร
- การให้ความเชื่อมั่นในตัวผู้ปฏิบัติงาน การให้อานาจแก่ผู้บริหารที่เกี่ยวข้องกับ
โครงการในการตัดสินใจ การประสานเชื่อมโยงหน่วยงานทั้งภายในและ
ภายนอก และกระบวนการด าเนินงาน เพื่อให้ทุกส่วนท างานอย่างสอดคล้องกัน
ไปสู่เป้าหมายเดียวกัน
5.3 ปัจจัยเชิงกระบวนการที่เอื้อต่อความส าเร็จ
ปัจจัยส าเร็จที่ส าคัญอย่างยิ่งประการหนึ่งที่ท าให้ อภ.ได้รับการรับรอง WHO PQ คือการ
ตัดสินใจขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากบริษัท Mylan ซึ่งพบว่าในการถ่ายทอดเทคโนโลยีครั้งนี้
ประสบความส าเร็จอย่างดียิ่งจากปัจจัยเชิงกระบวนการหลายประการ โดยเฉพาะปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้
ถ่ายทอดและผู้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยี ซึ่งปัจจัยต่างๆ เหล่านี้จะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยี
การวิจัยนี้ได้ใช้กรอบปัจจัยความส าเร็จของการถ่ายทอดเทคโนโลยีของอญณิฐา ดิษฐานนท์
ั
17
และคณะ มาเป็นกรอบในการน าเสนอปัจจัยส าเร็จในการรับการถ่ายประกอบด้วยปัจจัย 4 กลุ่ม
ได้แก่
17 อัญณิฐา ดษฐานนท์ อรพรรณ คงมาลัย และปราณ กริชพิพัฒน์. ปัจจยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการถ่ายทอดเทคโนโลยีในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี: กรณีศึกษา.
ิ
ี
ั
WMS Journal of Management 2018; 7(2): 23-35