Page 92 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 92

Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ   | 74





                              24
                       Stewart  ระบุว่าลักษณะส าคัญของผู้ถ่ายทอดประกอบด้วย ความเต็มใจที่จะถ่ายทอดเทคโนโลยี
                       ประสบการณ์การถ่ายทอดเทคโนโลยี กระบวนการบริหารจัดการของทั้งสองฝ่าย รวมถึงองค์ความรู้

                       พื้นฐานนั้นมีอิทธิพลต่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีที่จะประสบความส าเร็จ

                                 2.1)   บริษัท Mylan ในฐานะผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยี พบว่า ทีมเจ้าหน้าที่ของบริษัท
                       Mylan ที่ได้รับมอบหมายให้มาท าหน้าที่ในการเป็นผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีนั้นถือว่าเป็นทีมงานที่มี

                       ความรู้ ความสามารถและเชี่ยวชาญ มีคุณลักษณะความเป็นครู มีความมุ่งมั่นและตั้งใจอย่างยิ่งในการ

                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตยา Efavirenz 600 mg ให้แก่องค์การเภสัชกรรมท าให้เกิดการถ่ายทอด
                       องค์ความรู้อย่างอสระและกว้างขวาง นอกจากนี้ทีมงานผู้รับผิดชอบในการถ่ายทอดเทคโนโลยี ยังมี
                                      ิ
                       ระบบการติดตามความก้าวหน้าที่ชัดเจน ท าให้การด าเนินงานมีความคืบหน้า และแม้บริษัท Mylan

                                                                             ื่
                       จะไม่เคยมีประสบการณ์ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีให้แก่บริษัทอนมาก่อนหน้านี้ แต่บริษัทก็มีความ
                       เชื่อมั่นว่าบริษัทมีศักยภาพและความเชี่ยวชาญมากเพียงพอที่จะผลักดันให้เกิดการถ่ายทอดเทคโนโลยี

                       ที่เป็นจริงได้

                                 2.2)   ผู้รับการถ่ายทอดคือ อภ. ทั้งในระดับคณะกรรมการผู้ก าหนดนโยบาย ระดับ
                                                                                    ื้
                       ผู้บริหารองค์กรและทีมท างาน ล้วนมีการปรับเปลี่ยนเชิงกระบวนการเพื่อเออต่อการรับการถ่ายทอดที่
                                        ่
                       มีประสิทธิภาพ ได้แก การปรับโครงสร้าง/อ านาจตัดสินใจและการบริหารโครงการ ภายใน อภ.
                                 แม้ว่าองค์การเภสัชกรรมมีโครงการขอรับการรับรอง WHO PQ มาแล้วตั้งแต่ปี พ.ศ.
                       2544 แต่ไม่ประสบความส าเร็จ นอกจากนี้ในการตรวจประเมินของผู้เชี่ยวชาญจาก WHO

                       พบข้อบกพร่องมากกว่า 100 ข้อ จนกระทั่งไม่สามารถขอรับรอง WHO PQ ได้ทันตามก าหนดเวลาที่

                       WHO ก าหนดไว้ ความเห็นของผู้เชี่ยวชาญหลายท่านเห็นว่าความล่าช้าดังกล่าวนั้น น่าจะมาจาก
                       สาเหตุหลัก ดังนี้

                                 ก.  การไม่เห็นความส าคัญของการขอรับรอง WHO PQ ของผู้บริหารในอภ.ทั้งในระดับ

                       คณะกรรมการอภ.และผู้อ านวยการอภ. ท าให้การขับเคลื่อนขององค์กรเป็นไปอย่างล่าช้า
                                 ข.  ขาดระบบการก ากับติดตามการท างานตามนโยบายที่มีประสิทธิภาพโดย

                       คณะกรรมการอภ. ท าให้การด าเนินการไม่มีความคืบหน้า เนื่องจากอภ.เป็นหน่วยงานรัฐ พบว่าผู้น า

                       องค์กรมักไม่กล้าตัดสินใจแต่รอการตัดสินใจของคณะกรรมการฯ นอกจากนี้ยังพบมุมมองในการ

                       ท างานที่แตกต่างกันของคณะกรรมการอภ.และผู้อานวยการอภ. รวมถึงความไม่ต่อเนื่องของนโยบาย
                       เมื่อมีการเปลี่ยนคณะกรรมการอภ.หรือผู้อ านวยการอภ.

                                 อย่างไรก็ตามพบว่าในปี พ.ศ. 2558 เมื่อมีการเปลี่ยนแปลงผู้ดูแลการด าเนินงาน โดย
                       ดร.ภญ.มุกดาวรรณ ประกอบไวทยกิจ ในขณะนั้นได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองผู้อ านวยการฯ และต่อมา



                       24  Waroonkun, T. and Stewart, R. A. Modelling the international technology transfer process in construction projects: evidence from
                       Thailand. The Journal of technology transfer 2008; 33(6): 667-687.
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97