Page 90 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 90
Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ | 72
1) ความสามารถในการดูดซับความรู้
คือความสามารถในการรับรู้คุณค่าของข้อมูลใหม่ ซึมซับความรู้ และสามารถน าไปใช้ใน
เชิงพาณิชย์ได้อย่างแท้จริง ซึ่งความสามารถนี้จะสามารถสร้างความรู้ใหม่และถ่ายโอน รวมถึงใช้
18
ประโยชน์ร่วมกันจากความรู้ที่มีอยู่เดิมและองค์ความรู้ใหม่ นอกจากนี้ ความสามารถในการดูดซับ
ข้อมูลจะท าให้สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ภายนอกหน่วยงาน และเกิดการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่าง
19
องค์กรภายในและภายนอกของพนักงาน
ั
ในกรณีของอภ. พบว่า มีระบบในการสร้างแรงจูงใจ การพฒนาศักยภาพทีมงานของ
ิ่
ื่
องค์การเภสัชกรรมเพอเพมความสามารถในการดูดซับความรู้ จากปัญหาการขาดการเตรียมความ
พร้อมในการศึกษาวิธีการและเงื่อนไขการขอรับรอง ซึ่งในงานทั่วไปผู้ปฏิบัติงานท าหน้าที่ได้ดี แต่การ
ขอ WHO PQ นั้นเกินศักยภาพของบุคลากรในหน่วยงาน รวมถึงการขาดประสบการณ์ในการท างาน
ลักษณะเช่นนี้ และการขาดองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับมาตรฐานของ WHO PQ ท าให้องค์การเภสัช
ั
กรรมได้เห็นความส าคัญในการพฒนาศักยภาพบุคลากรท าให้ทีมงานรุ่นใหม่ที่เกี่ยวข้องกับงานมีการ
พฒนาความรู้ มุ่งมั่นและทุ่มเท กับงานแบบไม่จ ากัดเวลาจึงเพมความสามารถในการดูดซับความรู้ที่
ั
ิ่
ได้รับจากการถ่ายทอดเทคโนโลยี
การที่ผู้บริหารให้โอกาสผู้ปฏิบัติงานในการเรียนรู้ ความเชื่อมั่นในทีมผู้มีหน้าที่ปฏิบัติงาน
ื่
และการที่บุคลากรมีความมุ่งมั่น ตั้งใจ ทุ่มเท ให้กับการเรียนรู้และการด าเนินการต่างๆ เพอให้บรรลุ
ั
ตามเป้าหมาย การรับรอง WHO PQ ปัจจัย ที่ส่งผลต่อการพฒนาคุณภาพของบุคลากร อนน าไปสู่
ั
ความส าเร็จในการเพิ่มศักยภาพของอภ.ในการดูดซับความรู้ ได้แก่
ั
1.1) การพฒนาและเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ GMP ซึ่งเป็นพนฐานส าคัญ
ื้
ในการประเมินของผู้ตรวจประเมิน เพราะความรู้ดังกล่าวจะส่งผลต่อการผลิตผลิตภัณฑ์ยาที่มี
ั
มาตรฐานในด้านคุณภาพ ความปลอดภัยและประสิทธิภาพ อนเป็นเป้าหมายส าคัญของมาตรฐาน
20
WHO PQ
ั
1.2) การพฒนาศักยภาพด้านภาษาองกฤษ เป็นเครื่องมือส าคัญทั้งในกระบวนการ
ั
ถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากองค์กรต่างประเทศ รวมทั้งเป็น
เครื่องมือส าคัญในการตรวจประเมินโดยผู้ตรวจประเมินจากองค์การอนามัยโลก ทาง อภ. มีโครงการ
ั
เกี่ยวกับการพฒนาบุคลากรในด้านความสามารถทางภาษา มีการคัดเลือกบุคลากรที่สามารถสื่อสาร
18 Cohen, W. M. and Levinthal, D.A. Absorptive capacity: a new perspective on learning and innovation. Administrative Science Quarterly
1990; 35(1): 128-152.
19 Dogra, R., Garg, R. and Jatav, P. Technology transfer in pharmaceutical industry: transfer of process from development to
commercialization. International Journal of Pharmaceutical Sciences and Research 2013; 4 (5): 1692- 1708.
20 https://www.who.int/rhem/prequalification/prequalification_of_medicines/en/