Page 94 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 94
Efavirenz WHO PQ: กรณีศึกษาความร่วมมือรัฐ-เอกชน ในการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตและควบคุมคุณภาพ | 76
ในกรณีของอภ.พบว่า มีการตัดสินใจเลือกผลิตรายการยาที่มีเทคโนโลยีไม่ซับซ้อนจนเกิน
ความสามารถขององค์กร โดยที่อภ.ได้เปลี่ยนแปลงการเลือกรายการยาที่จะรับการถ่ายทอดเทคโนโลยี
จาก GPO Vir S30 ซึ่งเป็นยา combination ระหว่างตัวยา 3 ตัว มาเป็นยา Efavirenz 600 mg ซึ่ง
เป็นยาเดี่ยว เหตุผลส่วนหนึ่งคือได้พิจารณาแล้วว่าจะมีความยุ่งยากน้อยกว่า และ Efavirenz 600 mg
เป็นยาที่อยู่ในความต้องการของโครงการที่สนับสนุนงบประมาณค่ายาจากองค์กรระหว่างประเทศ
(จากการวิเคราะห์ใน Expression of Interest 13th Invitation ที่ประกาศใน WHO website)
ี
นอกจากนี้ยังมีประเด็นที่ส าคัญอกประการหนึ่งคือ การก าหนดเนื้อหาสัญญาการ
ถ่ายทอดเทคโนโลยีที่มีความครอบคลุม โดยพบว่าเพื่อให้การท า technology transfer ครั้งนี้เกิดการ
ิ่
ั
ั
พฒนาเต็มรูปแบบต่างจากเดิมที่เจาะจงเฉพาะสถาบันวิจัยพฒนา และได้เพม Technical Data ใน
ส่วนโรงงานผลิต การประกันคุณภาพในรายละเอียดตาม Annex II Technical Data for WHO/CTD
format 2010 ท าให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่ออภ.ในการพฒนามาตรฐานกระบวนการผลิตและประกัน
ั
คุณภาพ
4) ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร
ปฏิสัมพนธ์ที่ดีและการสื่อสารระหว่างองค์กรมีอทธิพลต่อความรู้และการถ่ายทอด
ั
ิ
25
5
เทคโนโลยี ทั้งนี้ Waroonkun และ Stewart กล่าวว่าการสื่อสารระหว่างผู้โอนและผู้รับโอนเป็นสิ่ง
ส าคัญอย่างยิ่งส าหรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีซึ่งขึ้นอยู่กับความตั้งใจที่จะสื่อสารและไว้วางใจระหว่างผู้
สื่อสารทั้งสองฝ่าย และ Distanont และคณะ ได้กล่าวว่าความเชื่อมั่นและไว้วางใจกันของทั้งสองฝ่าย
6
26
มักส่งผลดีต่อความตั้งใจที่จะถ่ายทอดเทคโนโลยีและการดูดซับความรู้ และสอดคล้องกับ Peter ที่
กล่าวถึง ความส าคัญของความไว้วางใจระหว่างผู้รับ (องค์กร หรือบุคคล) และผู้ถ่ายทอดเทคโนโลยีจะ
ลดอปสรรคในการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยเฉพาะความไว้วางใจต่อบุคคลในองค์กรผู้รับการถ่ายทอด
ุ
ซึ่งสอดคล้องกับกรณีขององค์การเภสัชกรรมที่มีรองผู้อานวยการฯที่รับผิดชอบหลักในการรับการ
ื่
ถ่ายทอด ได้รับความไว้วางใจอย่างมากจากบริษัท Mylan ท าให้การถ่ายทอดความรู้เพอลด
information gaps ระหว่างกันได้อย่างดี
การมีความสัมพนธ์อนดีระหว่างองค์การเภสัชกรรมกับบริษัท Mylan มาจากปัจจัย
ั
ั
ส าคัญ 3 ประการคือ
1) ความสัมพนธ์อนดีในฐานะบริษัทคู่ค้า ระหว่างองค์การเภสัชกรรมกับบริษัท Mylan
ั
ั
มีมาอย่างยาวนาน ท าให้เกิดความเชื่อมั่นและไว้วางใจของ Mylan ที่มีต่อองค์การเภสัชกรรม สะท้อน
25 Distanont, A., Haapasalo, H. and Vaananen, M. Organising Knowledge Transfer in requirements engineering over organisational
interfaces. International Journal of Innovation and Learning 2014; 15(1): 41-64.
26 Peter Roupas (Team Leader) (2008) Human and Organisational Factors
Affecting Technology Uptake by Industry, Innovation, 10:1, 4-28, DOI: 10.5172/impp.453.10.1.4