Page 101 - Efavirenz WHO PQ: A case study of a public-private collaboration
P. 101

บทที่ 6 บทสรุปและข้อเสนอแนะ                                                                                                      | 83




                              ส่งผลให้องค์การเภสัชกรรมต้องบริหารจัดการ ประเมินความแตกต่าง (gap) ระหว่างสิ่งที่
                                                                                        ิ่
                                                                                              ั
                       องค์การเภสัชกรรมมี กับเกณฑ์ความต้องการของ WHO PQ และด าเนินการเพมการพฒนาศักยภาพ
                       (capacity building) ทั้งเรื่องอาคารสถานที่ บุคลากร เอกสารทะเบียนต ารับยา และแผนการ

                       ถ่ายทอดเทคโนโลยีจาก Mylan จากการวิเคราะห์องค์การเภสัชกรรมจึงปรับเปลี่ยนรูปแบบการ
                       บริหารโครงการใหม่เพื่อให้บรรลุตามเกณฑ์มาตรฐานของ WHO PQ



                              การที่ยา Efavirenz  ขององค์การเภสัชกรรมได้รับรองมาตรฐานด้านยาขององค์การอนามัย
                       โลก (WHO PQ) แม้รายได้จากยาตัวนี้จะไม่ได้มีนัยส าคัญต่อยอดขายขององค์การเภสัชกรรมมากนัก

                       แต่กระบวนการกว่าจะได้มาซึ่งการรับรองระดับโลกครั้งนี้มีความหมายต่อการพฒนาองค์การเภสัช
                                                                                         ั
                       กรรมอย่างยิ่ง จากองค์กรซึ่งครั้งหนึ่งที่เคยถูกตั้งข้อสงสัยในเรื่องคุณภาพการผลิตยาต้านไวรัสที่ไม่เคย
                                                        ิ
                       ผ่านการรับรองในระดับโลกและสิทธิพเศษในฐานะรัฐวิสาหกิจที่มีข้อยกเว้นในการไม่ปฏิบัติตาม
                       กฎหมายที่ว่าด้วยคุณภาพด้านยาในภาวะวิกฤติ

                               การได้รับรองมาตรฐานด้านยาขององค์การอนามัยโลก น าไปสู่การยกระดับคุณภาพการผลิต
                                                         ั
                       การประกัน และรับรองคุณภาพ การพฒนาบุคลากรทุกด้าน การปฏิรูประบบงานเข้าสู่ระบบ
                       คอมพวเตอร์ ผนวกรวมกับการสร้างโรงงานรังสิตที่ท าให้มีก าลังการผลิตที่ทันสมัยจ านวนมาก และ
                            ิ
                       การได้มาซึ่งภาพลักษณ์ระดับโลก การยอมรับมากขึ้นจากทั้งในและต่างประเทศ แต่กว่าจะมาถึงจุดนี้
                       มีทั้งปัจจัยเสริมและอุปสรรคฉุดรั้งที่น่าเรียนรู้



                              ข้อสรุปที่ส าคัญในการศึกษานี้ได้แก  ่
                              1)  การตัดสินใจเชิงนโยบายที่ส าคัญ 2 ประการ ที่ท าให้วันนี้อภ.ได้รับการรับรอง WHO PQ

                       คือ หนึ่ง การตัดสินใจเชิงนโยบายที่ผลักดันให้ อภ. ต้องได้มาตรฐานการรับรอง WHO PQ และ สอง

                       คือการตัดสินใจในการท าความร่วมมือกับ Mylan ในการขอรับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตยา
                                                            ุ
                              2)  ปัจจัยความส าเร็จและปัญหาอปสรรคในการได้รับการรับรอง WHO PQ ของอภ.นั้น
                       ประกอบด้วยหลายปัจจัย ทั้งปัจจัยในด้านบริบทระหว่างประเทศ ในประเทศ และในองค์กร และ

                       ปัจจัยเชิงกระบวนการที่ส าคัญอย่างยิ่งคือการท างานร่วมกันระหว่างองค์การเภสัชกรรมกับบริษัท
                       Mylan ในด้านการผลิต และการควบคุมคุณภาพ ที่น าไปสู่การรับรองมาตรฐาน WHO

                       Prequalification

                                         ื้
                                 ปัจจัยเออ: บริบทในประเทศ อาทิ นโยบายหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นโยบายที่
                       สนับสนุนการแก้ปัญหาเอดส์ด้วยการผลิตยาต้านไวรัสเอชไอวีภายในประเทศ ศักยภาพการวิจัยพัฒนา

                       และผลิตขององค์การเภสัชกรรม และ การมี ‘แผนพัฒนาศักยภาพที่ยั่งยืนในประเทศไทย เรื่อง WHO
                       Pre-qualification Scheme’ แผนร่วมของ 3 หน่วยงานคือ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ส านักงาน
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106