Page 63 - BBLP ejournal2018.docx
P. 63
Journal of Biotechnology in Livestock Production
(a) (b)
(c) (d)
Figure 1 Genetic trend for M305 (a), PFAT (b), PPRO (c), and PTS (d) of Holstein Friesian
crossbred cows in western part of Thailand
ส าหรับค่าแนวโน้มทางพันธุกรรมส าหรับลักษณะ M305 ของโคนมลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชี่ยนใน
พื้นที่ภาคตะวันตก มีค่าเพิ่มในอัตรา 7.61 กิโลกรัมต่อปี (p < 0.01) การเพิ่มขึ้นของค่าแนวโน้มทาง
พันธุกรรมส าหรับ M305 มีค่าใกล้เคียงกับรายงานค่าแนวโน้มทางพันธุกรรมส าหรับลักษณะปริมาณผลผลิต
น ้านมที่ 305 วัน โคนมในประเทศไทย (6.89 - 7.95 กิโลกรัมต่อปี; กรมปศุสัตว์, 2559; Koonawootrittriron
el al., 2009) ในขณะที่ลักษณะองค์ประกอบน ้านม(PFAT, PPRO, and PTS) มีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ( - 0.003%,
- 0.001%, และ - 0.002% ต่อปี ตามล าดับ; p < 0.01) สอดคล้องกับการศึกษาของ Koonawootrittriron el
al. (2009) ในประชากรโคนมในพื้นที่ภาคกลางของประเทศไทยที่พบว่า ค่าแนวโน้มทางพันธุกรรมมีค่าเข้า
ใกล้ศูนย์ส าหรับลักษณะเปอร์เซ็นต์ไขมันนม ชี้ให้เห็นถึงรูปแบบการปรับปรุงพันธุ์โคนมในภาคตะวันตกที่ให้
ความส าคัญกับการเลือกใช้พ่อพันธุ์ที่มีความดีเด่นด้านการให้ผลผลิตน ้านม เพื่อเพิ่มปริมาณผลผลิตน ้านม
ของโคนมภายในฟาร์มมากกว่าการพิจารณาเลือกใช้พ่อพันธุ์ที่มีความดีเด่นด้านค่าองค์ประกอบน ้านม ทั้งนี้
แนวทางการปรับปรุงพันธุ์โดยพิจารณาคัดเลือกโคนมพ่อ-แม่พันธุ์ที่มีความดีเด่นด้านลักษณะปริมาณการ
ให้ผลผลิตน ้านมเพียงอย่างเดียว เพื่อปรับปรุงพันธุกรรมโคนมภายในฟาร์มจะส่งผลกระทบต่อองค์ประกอบ
น ้านม ทั้งนี้ในปัจจุบันระบบการรับซื้อ น ้านมดิบได้มีการน าค่าองค์ประกอบน ้านมมาร่วมในการพิจารณารับ
ซื้อด้วย ดังนั้นการสร้างดัชนีการคัดเลือก (selection index) โดยใช้มูลค่าทางเศรษฐกิจของแต่ละลักษณะ
53