Page 68 - BBLP ejournal2018.docx
P. 68

วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์



                                                          ค าน า

                     กรมปศุสัตว์นับเป็นผู้ผลิตน ้าเชื้อแช่แข็งโครายใหญ่ที่สุดของประเทศ ส าหรับให้บริการน ้าเชื้อ

              แช่แข็งจากพ่อพันธุ์ดีแก่เกษตรกร น ้าเชื้อแช่แข็งของโคเนื้อโดยเฉพาะโคบราห์มันแดง เป็นที่ต้องการของ

              เกษตรกรมาก กรมปศุสัตว์ ได้น าพ่อพันธุ์นี้เข้าจากต่างประเทศ 2 ตัว มูลค่าหลายล้านบาท เพื่อผลิตน ้าเชื้อ
              แช่แข็งแต่มักจะมีปัญหาคุณภาพน ้าเชื้อแช่แข็งไม่สม ่าเสมอ ผลิตน าเชื้อแช่แข็งได้น้อยมีอัตราการเคลื่อนไป

              ข้างหน้า (motility) หลังแช่แข็งต ่ากว่า 40% ซึ่งถือว่าต ่ากว่าค่ามาตรฐานที่ก าหนดส าหรับคุณภาพของ

              น ้าเชื้อแช่แข็งในการใช้ผสมเทียม จ าเป็นต้องท าลายเป็นบางชุดๆละหลายร้อยโด๊สในกรณีที่ motility ต ่า

              มากๆ (ต ่ากว่า 30%) ซึ่งเป็นที่น่าเสียดายและนับเป็นความสูญเสียทั้งทางด้านงบประมาณและทรัพยากรที่มี

              คุณค่าทางพันธุกรรม ส าหรับสาเหตุที่แท้จริงของการที่น ้าเชื้อแช่แข็งโคบราห์มันแดงมีคุณภาพไม่สม ่าเสมอ

              ยังไม่ทราบแน่ชัด การผสมเทียมด้วยน ้าเชื้อที่มี motility ต ่าจะมีผลต่ออัตราการผสมติด (Tanghe et al.,

              2002) ในกระบวนการผลิตตัวอ่อนโดยวิธีปฏิสนธินอกร่างกาย การเตรียมน ้าเชื้อเพื่อปฏิสนธิกับโอโอไซต์ใน

              หลอดทดลอง เป็นการคัดแยกเฉพาะตัวอสุจิที่แข็งแรง เคลื่อนที่ได้ออกจากตัวตายและไม่เคลื่อนไหว ท าให้

              motility เพิ่มขึ้นเทียบกับหลังละลายน ้าเชื้อแช่แข็งทันที เมื่อน าตัวอสุจิดังกล่าวไปผสมกับโอโอไซต์ในหลอด
              ทดลอง มีโอกาสที่จะเกิดเป็นตัวอ่อน (Somfai et al., 2002) สามารถน าไปย้ายฝากให้เกิดลูกได้แทนการ

              ท าลายน ้าเชื้อนั้นทิ้งเนื่องจากน ้าเชื้อแช่แข็งโคบราห์มันแดงเป็นน ้าเชื้อน าเข้ามาจากต่างประเทศ มีมูลค่าสูง

              ดังนั้นควรใช้ร่วมกับเทคโนโลยีเกี่ยวกับการผลิตลูกโคจากการเก็บเซลล์ไข่โดยการเจาะผ่านทางช่องคลอด

              ร่วมกับการใช้เครื่องอัลตราซาวด์ (ultrasound-guided transvaginal ovum pick-up: OPU) โดยมีรายงาน

              ความส าเร็จมาแล้วเกี่ยวกับการผลิตตัวอ่อนโดยใช้เทคนิคการปฏิสนธินอกร่างกายร่วมกับการเก็บเซลล์ไข่

              ผ่านทางช่องคลอดโดยไม่ใช้เครื่องอัลตราซาวด์ทั้งในโคนมและโคพันธุ์พื้นเมืองภาคใต้ (อนุชา และคณะ,

              2545; ณรงค์ และคณะ, 2547; มาลี และคณะ, 2548)
                     วัตถุประสงค์ของการทดลองครั้งนี้ เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการผลิตตัวอ่อนโดยวิธีปฏิสนธินอก

              ร่างกายจากน ้าเชื้อแช่แข็งโคบราห์มันแดงที่มีค่า motility หลังละลายต ่ากว่า 40% โดยใช้โอโอไซต์ของ

              โคบราห์มันเทาที่เก็บผ่านทางผนังช่องคลอด



                                                อุปกรณ์และวิธีการทดลอง

              แหล่งน ้าเชื้อแช่แข็งและโอโอไซต์

                     ใช้น ้าเชื้อแช่แข็งโคบราห์มันแดงจ านวน 2 ตัวคือ RAB 280 และ RAB 102 ที่มี motility หลังละลาย

              ต ่ากว่า 40% จากศูนย์ผลิตน ้าเชื้อพ่อโคพันธุ์โครงการหลวงอินทนนท์ จ.เชียงใหม่

                     โอโอไซต์ ได้จากการเก็บผ่านทางผนังช่องคลอดของโคพันธุ์บราห์มันท าการเจาะเก็บโอโอไซต์ตาม

              วิธีของ ณรงค์ และคณะ (2547) ด้วยเครื่องมือของฮิลล์ (Hill Aspirator, Mable Hill EmbryosINC.) น ้ายาที่


                                                           58
   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73