Page 69 - BBLP ejournal2018.docx
P. 69

Journal of Biotechnology in Livestock Production



              ใช้เก็บโอโอไซต์ คือ PBS (Gibco, BRL, USA) เติมด้วย FSH 1% (v/v) ยาปฏิชีวนะ (penicillin-

              streptomycin) และสารกันเลือดแข็งตัว (heparin 50 unit/ml)

                     ตรวจหาเซลล์ไข่ที่เก็บได้และประเมินคุณภาพภายใต้กล้องจุลทรรศน์สเตอริโอ คัดเลือกโอโอไซต์

              ตามวิธีของ Hasler et al. (1995) เพาะเลี้ยงให้เจริญพร้อมปฏิสนธิตามวิธีของ มาลี และคณะ (2552)
              จากนั้นน ามาปฏิสนธินอกร่างกาย


              การปฏิสนธินอกร่างกาย


                     การเตรียมตัวอสุจิใช้วิธี “swim-up” ตามวิธีของ Songsasen และ Apimeteetumrong (2002)
              ตรวจสอบคุณภาพด้านต่างๆ ของตัวอสุจิ ได้แก่ motility การมีชีวิต (Live) ความสมบูรณ์ของผนังเซลล์

              (Host test) normal intacted acrosome ก่อนและหลัง “swim-up” น าตัวอสุจิหลังจากswim-upไปผสมกับโอ

              โอไซต์ที่เลี้ยงให้เจริญพร้อมปฏิสนธิแล้ว ในน ้ายา TALP ที่มี PHE โดยปรับความเข้มข้นของตัวอสุจิเป็น 1x

              106 ตัว ต่อ 1 มล. เลี้ยงโอโอไซต์ร่วมกับตัวอสุจิ นาน 19-20 ชม. ในตู้เพาะเลี้ยงตัวอ่อนที่อุณหภูมิ 38.5 °C

              ในบรรยากาศ 5% CO 2 จากนั้นน าโอโอไซต์ไปเลี้ยงในน ้ายา SOF ร่วมกับเซลล์ Vero เสริมด้วย 10% FCS

              ในสภาวะเดียวกันเป็นเวลานาน 7-8 วัน ติดตามและบันทึกการเจริญของตัวอ่อน ทุก 24 ชั่วโมง จนตัวอ่อน

              เจริญถึงระยะบลาสโตซีสต์ (blastocyst stage)


              การวิเคราะห์ข้อมูล

                     วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูป SPSS เปรียบเทียบคุณภาพของน ้าเชื้อด้าน

              ต่างๆก่อนและหลัง swim- up ด้วยวิธี paired T-test


              สถานที่ท าการทดลอง/เก็บข้อมูล

                     ส านักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ ห้องปฏิบัติการเทคโนโลยีตัวอ่อน

                     ศูนย์วิจัยเทคโนโลยีชีวภาพการย้ายฝากตัวอ่อนและเซลล์สืบพันธุ์สัตว์ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
                     ศูนย์ผลิตน ้าเชื้อพ่อโคพันธุ์โครงการหลวงอินทนนท์ จ.เชียงใหม่



                                                ผลการทดลองและวิจารณ์

                     ผลเปรียบเทียบคุณภาพของน ้าเชื้อแช่แข็งโคบราห์มันแดงหมายเลข RAB 280 และ RAB 102

              ก่อนและหลังจาก swim-up แสดงใน Table 1 ส าหรับน ้าเชื้อโคบราห์มันแดง RAB 280 มีค่าเฉลี่ย %

              motility (26.76 ± 2.18 % vs 47.65 ± 1.97 %,P = 0.003) และ % Live (31.45 ± 3.24 % vs 64.34 ± 3.26

              %, P = 0.031) หลัง swim-up สูงกว่าก่อนท าswim-up แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญยิ่ง ความสมบูรณ์ของ

              ผนังเซลล์ (Host test) และ normal intacted acrosome แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญ (P > 0.05) น ้าเชื้อ
              แช่แข็งโคบราห์มันแดงหมายเลข RAB 102 มีค่าเฉลี่ยทั้ง 4 ลักษณะแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยส าคัญ แม้ว่า



                                                           59
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74