Page 64 - BBLP ejournal2018.docx
P. 64

วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์



              เป็นตัวถ่วงน ้าหนัก (economic weight) จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมส าหรับการคัดเลือกโคนมพ่อ-แม่พันธุ์ที่
              พันธุกรรมดีเด่นด้านลักษณะปริมาณผลผลิตน ้านม และองค์ประกอบน ้านมได้พร้อมกัน



                                                  สรุปผลการทดลอง
                     ค่าอัตราพันธุกรรมส าหรับลักษณะ M305, PFAT, PPRO, PSNF และ PTS ของโคนมลูกผสม

              โฮลสไตน์ฟรีเชี่ยนในพื้นที่ภาคตะวันตกของประเทศไทย มีค่าเท่ากับ 0.129, 0.041, 0.102, 0.076 และ
              0.079 ตามล าดับ ลักษณะปริมาณผลผลิตน ้านมมีค่าสหสัมพันธ์ทางพันธุกรรมในเชิงลบกับลักษณะค่า

              องค์ประกอบน ้านม(- 0.159 ถึง -0.384) ขณะที่ลักษณะค่าองค์ประกอบน ้านมแต่ละลักษณะมีค่าสหสัมพันธ์
              ทางพันธุกรรมในเชิงบวก (0.495 ถึง 0.989) ค่าแนวโน้มทางพันธุกรรมส าหรับลักษณะ M305 ของโคนม

              ลูกผสมโฮลสไตน์ฟรีเชี่ยนในพื้นที่ภาคตะวันตก มีค่าเพิ่มในอัตรา 7.61 กิโลกรัมต่อปี ในขณะที่ลักษณะ
              องค์ประกอบน ้านมมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ ชี้ให้เห็นถึงแนวทางการปรับปรุงพันธุ์โดยพิจารณาคัดเลือกโคนมพ่อ-

              แม่พันธุ์ที่มีความดีเด่นด้านลักษณะปริมาณการให้ผลผลิตน ้านมเพียงอย่างเดียว จะส่งผลกระทบต่อ
              องค์ประกอบน ้านม ดังนั้นการสร้างดัชนีการคัดเลือก (selection index) โดยใช้มูลค่าทางเศรษฐกิจของแต่

              ละลักษณะเป็นตัวถ่วงน ้าหนัก (economic weight) จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมส าหรับการคัดเลือกโคนมพ่อ-
              แม่พันธุ์ที่พันธุกรรมดีเด่นด้านลักษณะปริมาณผลผลิตน ้านม และองค์ประกอบน ้านมได้พร้อมกัน


                                                  กิตติกรรมประกาศ

                     คณะผู้วิจัยขอขอบคุณ ดร.สายัณห์  บัวบาน ที่ให้ค าปรึกษาและข้อเสนอแนะส าหรับการศึกษาครั้งนี้

              และขอขอบคุณเจ้าหน้าที่เก็บ และบันทึกข้อมูลสถิติผลผลิตน ้านมศูนย์วิจัยการผสมเทียมและ
              เทคโนโลยีชีวภาพราชบุรี ตลอดจนเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมในพื้นที่จังหวัดราชบุรี, กาญจนบุรี, นครปฐม,

              เพชรบุรี และประจวบคีรีขันธ์ทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัย


                                                     เอกสารอ้างอิง

              กรมปศุสัตว์. 2546. ระเบียบมาตรฐานฟาร์มโคนมและการผลิตน ้านมดิบของประเทศไทย พ.ศ. 2542. ส่วน

                     มาตรฐานการด้านปศุสัตว์ ส านักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์. กรุงเทพฯ
              กรมปศุสัตว์. 2559. สมุดพ่อพันธุ์โคนม 2558. ส านักเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์,

                     กรุงเทพฯ
              จินตนา วงศ์นากนากร และวิสุทธิ์ หิมารัตน์. 2541. การประมาณค่าอัตราพันธุกรรมของลักษณะการให้ผล

                     ผลิตน ้านมโคนมขาว - ด า ที่ศูนย์วิจัยและบ ารุงพันธุ์สัตว์เชียงใหม่. รายงานผลงานการวิจัย
                     การปศุสัตว์ สาขาการปรับปรุงพันธุ์สัตว์และการจัดการฟาร์ม ประจ าปี 2541. กรมปศุสัตว์

                     กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.
              ทวี อบอุ่น และสมเพชร ตุ้ยค าภีร์. 2544. การประเมินคุณค่าการผสมพันธุ์ของลักษณะการให้นมในโคนม

                     พันธุ์เอ เอฟ เอส. รายงานผลงานการวิจัยการปศุสัตว์ สาขาการปรับปรุงพันธุ์สัตว์และการจัดการ
                     ฟาร์ม ประจ าปี 2544. กรมปศุสัตว์ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์.


                                                           54
   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69