Page 74 - BBLP ejournal2018.docx
P. 74

วารสารเทคโนโลยีชีวภาพการผลิตปศุสัตว์



                        ผลของการเหนี่ยวน าการตกไข่โดยใช้ Progesterone และ PGF α ร่วมกับ GnRH หรือ hCG
                                                                           2
                         ในการผสมเทียมแบบก าหนดเวลาต่ออัตราการตั้งท้องของโคเนื้อลูกผสมพื้นเมืองไทย


                                             ปกรณ์เกียรติ โมฬา  ณรงค์กร เกษมสุข
                                                                           1/
                                                            1/

                                                         บทคัดย่อ
                     การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อดูผลของโปรแกรมการเหนี่ยวน าการตกไข่และการผสมเทียมแบบก าหนดเวลา

              ที่ 48 ชั่วโมง โดยการใช้ Progesterone (CIDR®) ร่วมกับ PGF 2α และ GnRH หรือ hCG ในโคเนื้อสาวลูกผสมพื้นเมืองไทย

              จ านวน 30 ตัว (อายุ 15-24 เดือน) แบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม โดยแต่ละกลุ่มใช้โคจ านวน 10 ตัว กลุ่มที่ 1 (Control): ใช้
              CIDR®+PGF 2α+ น ้ากลั่น กลุ่มที่ 2 (GnRh): ใช้ CIDR®+PGF 2α+ GnRH กลุ่มที่ 3 (hCG): ใช้ CIDR®+PGF 2α+ hCG โค

              ในแต่ละกลุ่มได้รับการท าเหนี่ยวน าการเป็นสัดโดยใช้ Progesterone (CIDR®) แบบสอดช่องคลอดนาน 14 วัน ในวันที่ 14

              ถอด CIDR® ออกและ ฉีด PGF 2α จากนั้นอีก 48 ชั่วโมงให้ท าการผสมเทียมและฉีดน ้ากลั่น หรือ GnRH หรือ hCG
              หลังจากท าการผสมเทียมครบเวลา 90 วัน ตรวจสอบการตั้งท้องโดยการล้วงตรวจผ่านทางทวาร ผลการวิจัยพบว่าอัตรา
              การผสมติด และอัตราการตั้งท้องที่ใช้โปรเจสเทอโรนของโค กลุ่มที่ 1 กลุ่ม 2 และ 3 มีค่าเท่ากับ 20%, 40% และ 40%

              ตามล าดับ โดยโคกลุ่มที่ 2 และ 3 มีอัตราการตั้งท้องที่สูงกว่ากลุ่มที่ 1 อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติ (P<0.05) อย่างไรก็ตาม

              เมื่อเปรียบเทียบโคกลุ่มที่ 2 กับโคกลุ่มที่ 3 พบว่ามีอัตราการตั้งท้องไม่แตกต่างกัน (40% vs 40%; P>0.05) จากการศึกษา
              ครั้งนี้ชี้ให้เห็นว่าการใช้ฮอร์โมน Progesterone และ PGF 2α ร่วมกับฮอร์โมน GnRh หรือ hCG ท าให้มีอัตราการตั้งท้องที่

              สูงขึ้นในโคเนื้อลูกผสมพื้นเมืองไทย




















              ค าส าคัญ: การเหนี่ยวน าการตกไข่ โปรเจสเทอโรน โคเนื้อ ประเทศไทย

              เลขทะเบียนวิชาการ: 61(2)-0208-070
              1/  ศูนย์วิจัยการผสมเทียมและเทคโนโลยีชีวภาพอุบลราชธานี อ.เมือง จ.อุบลราชธานี 34000


                                                           64
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79